โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ เจ๊ะแฮ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง
ชื่อโครงการ โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3032-02-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3032-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความสะอาด اَلطَّهَارَةُ เป็นหลักการสำคัญในศาสนาอิสลามเป็นกึ่งหนึ่งหรือครึ่งหนึ่งของการศรัทธาเป็นเอกลักษณ์และลักษณะนิสัยที่โดดเด่นของมุสลิมผู้ศรัทธา อิสลามได้กำหนดบทบาทหน้าที่ประจำวันของมุสลิม ตั้งแต่ตื่นนอนจนถึงเข้านอนให้ครอบคลุมและผูกพันกับการรักษาความสะอาดทั้งร่างกาย เสื้อผ้า อาหารและอื่นๆ ทั้งส่วนตัวและสาธารณะและอิสลามยังกำหนดให้ความสะอาดนั้น เป็นเงื่อนไขสำคัญที่มีผูกพันกับการปฏิบัติศาสนกิจของผู้ศรัทธาหลายประการ เช่น การละหมาดและการฎอวาฟเป็นต้น ท่านอาบูมาลิกกะอุ บินอาศิมอัลอัซ อะรีย์ ร่อฎิยัลลอ ฮุอันฮู รายงานว่า ท่านรอซูลุลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “การทำความสะอาดตาม ศาสนบัญญัติเป็นครึ่งหนึ่งของการศรัทธา” บันทึกโดยมุสลิม
จากฮาดิษดังกล่าวได้กำหนดให้มุสลิมผู้ศรัทธารักษาความสะอาดทั้งส่วนตัวและสาธารณะประโยชน์โดยเฉพาะมัสยิดซึ่งถือได้ว่าเป็นสถานที่มุสลิมทุกคนจะต้องเข้าไปละหมาดเพื่อเข้าไปหาพระผู้เป็นเจ้า แต่ปัจจุบันหากเรามาพิจารณาศาสนสถานแห่งนี้หรือบ้านของพระผู้เป็นเจ้านั้น ไม่เป็นไปตามฮาดิษกล่าวไว้ เช่น ภายในมัสยิดมีหยากไย่ขึ้นบริเวณเพดาน หลอดไฟ พัดลม บริเวณประตูหน้าต่าง มิมบาร สำหรับภายนอกอาคารมัสยิดก็มีก้นบุหรี่ เศษขยะ เพ่นพ่านไปหมด ที่อาบน้ำละหมาดมีตะไคร้น้ำ กอเลาะหรือที่เก็บน้ำก็มีตะกอน ห้องน้ำสกปรก เมื่อมาพิจารณาโดยรวมแล้วไม่เหมาะที่จะเป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจเข้าไปหาพระผู้เป็นเจ้า
ศาสนสถาน ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของนักบวช การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จนถึงเป็นที่รวมองค์ประกอบหลักของศาสนา ทั้งหมดในศาสนสถาน ฐานะ ของศาสนสถานจึงเป็นสมบัติของศาสนา มัสยิดเป็นศาสนสถานที่สำคัญยิ่งในศาสนาอิสลาม เป็นสถานที่ที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาคนให้สามารถเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์สังคมในชุมชนให้เป็นสังคมที่ดีได้มัสยิดได้ดำเนินส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนการอบรมในวาระต่างๆ ตามความเหมาะสม อาทิเช่น การอบรมด้านศาสนา การแนะนำและการตักเตือน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาในชุมชน และใช้ในการประชาสัมพันธ์กิจการต่างๆ ของมัสยิด
ฉะนั้น ชมรมอีหม่ามตำบลยะรัง เห็นว่า ควรมีการจัดทำโครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน ขึ้นมา เพื่อเป็นการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการมัสยิดแต่ละแห่งจำนวน ๖ แห่ง ผู้นำท้องที่ ผู้ทำท้องถิ่น แกนนำ อสม เยาวชน และเจ้าหน้าที่ อบต.ยะรัง ทำความสะอาดมัสยิดทั้ง ๖ แห่ง ในพื้นที่ตำบลยะรัง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรีบดำเนินการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้นำศาสนามีความรู้ความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน
- เพื่อจัดทำกิจกรรมทำความสะอาดทุกๆ วันศุกร์ๆ ละหนึ่งมัสยิด
- เพื่อถ่ายทอดการทำงานด้านการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีตอ่ชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๗.๑ สถานที่ละหมาด สะอาด เหมาะแก่การทำอีบาดะห์
๗.๒ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรง
๗.๓ สามารถรณรงค์เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้นำศาสนามีความรู้ความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อจัดทำกิจกรรมทำความสะอาดทุกๆ วันศุกร์ๆ ละหนึ่งมัสยิด
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อถ่ายทอดการทำงานด้านการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีตอ่ชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้นำศาสนามีความรู้ความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน (2) เพื่อจัดทำกิจกรรมทำความสะอาดทุกๆ วันศุกร์ๆ ละหนึ่งมัสยิด (3) เพื่อถ่ายทอดการทำงานด้านการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีตอ่ชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3032-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลเลาะ เจ๊ะแฮ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ เจ๊ะแฮ
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3032-02-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3032-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความสะอาด اَلطَّهَارَةُ เป็นหลักการสำคัญในศาสนาอิสลามเป็นกึ่งหนึ่งหรือครึ่งหนึ่งของการศรัทธาเป็นเอกลักษณ์และลักษณะนิสัยที่โดดเด่นของมุสลิมผู้ศรัทธา อิสลามได้กำหนดบทบาทหน้าที่ประจำวันของมุสลิม ตั้งแต่ตื่นนอนจนถึงเข้านอนให้ครอบคลุมและผูกพันกับการรักษาความสะอาดทั้งร่างกาย เสื้อผ้า อาหารและอื่นๆ ทั้งส่วนตัวและสาธารณะและอิสลามยังกำหนดให้ความสะอาดนั้น เป็นเงื่อนไขสำคัญที่มีผูกพันกับการปฏิบัติศาสนกิจของผู้ศรัทธาหลายประการ เช่น การละหมาดและการฎอวาฟเป็นต้น ท่านอาบูมาลิกกะอุ บินอาศิมอัลอัซ อะรีย์ ร่อฎิยัลลอ ฮุอันฮู รายงานว่า ท่านรอซูลุลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “การทำความสะอาดตาม ศาสนบัญญัติเป็นครึ่งหนึ่งของการศรัทธา” บันทึกโดยมุสลิม
จากฮาดิษดังกล่าวได้กำหนดให้มุสลิมผู้ศรัทธารักษาความสะอาดทั้งส่วนตัวและสาธารณะประโยชน์โดยเฉพาะมัสยิดซึ่งถือได้ว่าเป็นสถานที่มุสลิมทุกคนจะต้องเข้าไปละหมาดเพื่อเข้าไปหาพระผู้เป็นเจ้า แต่ปัจจุบันหากเรามาพิจารณาศาสนสถานแห่งนี้หรือบ้านของพระผู้เป็นเจ้านั้น ไม่เป็นไปตามฮาดิษกล่าวไว้ เช่น ภายในมัสยิดมีหยากไย่ขึ้นบริเวณเพดาน หลอดไฟ พัดลม บริเวณประตูหน้าต่าง มิมบาร สำหรับภายนอกอาคารมัสยิดก็มีก้นบุหรี่ เศษขยะ เพ่นพ่านไปหมด ที่อาบน้ำละหมาดมีตะไคร้น้ำ กอเลาะหรือที่เก็บน้ำก็มีตะกอน ห้องน้ำสกปรก เมื่อมาพิจารณาโดยรวมแล้วไม่เหมาะที่จะเป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจเข้าไปหาพระผู้เป็นเจ้า
ศาสนสถาน ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของนักบวช การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จนถึงเป็นที่รวมองค์ประกอบหลักของศาสนา ทั้งหมดในศาสนสถาน ฐานะ ของศาสนสถานจึงเป็นสมบัติของศาสนา มัสยิดเป็นศาสนสถานที่สำคัญยิ่งในศาสนาอิสลาม เป็นสถานที่ที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาคนให้สามารถเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์สังคมในชุมชนให้เป็นสังคมที่ดีได้มัสยิดได้ดำเนินส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนการอบรมในวาระต่างๆ ตามความเหมาะสม อาทิเช่น การอบรมด้านศาสนา การแนะนำและการตักเตือน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาในชุมชน และใช้ในการประชาสัมพันธ์กิจการต่างๆ ของมัสยิด
ฉะนั้น ชมรมอีหม่ามตำบลยะรัง เห็นว่า ควรมีการจัดทำโครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน ขึ้นมา เพื่อเป็นการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการมัสยิดแต่ละแห่งจำนวน ๖ แห่ง ผู้นำท้องที่ ผู้ทำท้องถิ่น แกนนำ อสม เยาวชน และเจ้าหน้าที่ อบต.ยะรัง ทำความสะอาดมัสยิดทั้ง ๖ แห่ง ในพื้นที่ตำบลยะรัง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรีบดำเนินการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้นำศาสนามีความรู้ความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน
- เพื่อจัดทำกิจกรรมทำความสะอาดทุกๆ วันศุกร์ๆ ละหนึ่งมัสยิด
- เพื่อถ่ายทอดการทำงานด้านการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีตอ่ชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๗.๑ สถานที่ละหมาด สะอาด เหมาะแก่การทำอีบาดะห์ ๗.๒ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรง ๗.๓ สามารถรณรงค์เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้นำศาสนามีความรู้ความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อจัดทำกิจกรรมทำความสะอาดทุกๆ วันศุกร์ๆ ละหนึ่งมัสยิด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อถ่ายทอดการทำงานด้านการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีตอ่ชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้นำศาสนามีความรู้ความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน (2) เพื่อจัดทำกิจกรรมทำความสะอาดทุกๆ วันศุกร์ๆ ละหนึ่งมัสยิด (3) เพื่อถ่ายทอดการทำงานด้านการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดีตอ่ชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการศาสนสถานต้นแบบเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีต่อชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3032-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลเลาะ เจ๊ะแฮ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......