กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแว้ง


“ โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในยุคไทยแลนด์ 4.0 ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ชมรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลแว้ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในยุคไทยแลนด์ 4.0

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2522-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในยุคไทยแลนด์ 4.0 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในยุคไทยแลนด์ 4.0



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในยุคไทยแลนด์ 4.0 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2522-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดีเป็นความปรารถนาของคนทุกคน เพราะการมีสุขภาพดีเป็นปัจจัยสำคัญที่จะก่อให้เกิดความสุขและมีสุขภาพชีวิตที่ดีชมรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลแว้งได้รณรงค์เชิญชวนและส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนได้เห็นความสำคัญเรื่องสุขภาพซึ่งที่ผ่านมาชมรมได้ให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพในปลายรูปแบบหลายมิติเช่นการส่งเสริมการออกกำลังกาย การประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเสวนาการบำเพ็ญประโยชน์ เป็นต้นซึ่งเป็นภารกิจที่ชมรมจะดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สมาชิกกลุ่มมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมสัมมนาแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
  2. กิจกรรมสืบสานอาหารภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ
  3. ประชุมสัมมนาเรื่องไอซีทีกับสุขภาพ
  4. สืบสานขนมภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ
  5. กิจกรรมออกกำลังกาย เดิน-วิ่งยามเช้า
  6. กิจกรรมวิเคราะห์สุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และปฏิบัติตนเกี่ยวกับสุขภาพได้ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมออกกำลังกาย เดิน-วิ่งยามเช้า

วันที่ 1 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมการออกกำลังกายในตอนเช้าที่ทำกันเป็นประจำทุกวันตลอดปี โดยมีรูปแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย เช่นการเดิน วิ่ง การยืดเส้นยืดสายด้วยเครื่องออกกำลังกายกลางแจ้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้ออกกำลังกายทุกวัน ส่งผลดีต่อสุขภาพ ทำให้ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลโรค

 

50 0

2. ประชุมสัมมนาแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ

วันที่ 21 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการจัดประชุมสัมมนาเรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย การเลิกสูบบุหรี่ แนะนำคลินิกเลิกบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนที่ร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เรื่องสุขภาพ การดูแลสุขภาพ และแนวทางการบำบัดผู้ติดบุหรี่

 

50 0

3. กิจกรรมวิเคราะห์สุขภาพ

วันที่ 5 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมที่เชิญผู้มีความรู้เพื่อมาตรวจและวิเคราะห์สุขภาพของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีการดำเนินการจำนวน  2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 5 สิงหาคม 2561 และครั้งที่ 2 เป็นการตรวจวิเคราะห์ซ้ำและการติดตามผล วันที่ 15 กันยายน 2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบถึงสถานะทางสุขภาพของตัวเอง พร้อมได้รับคำแนะนำถึงแนวทางการดูแลสุขภาพ

 

100 0

4. กิจกรรมสืบสานอาหารภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อแนะนำอาหารภูมิปัญญาในอดีตที่มาการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น โดยเน้นอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  50 คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการขั้นตอนการทำอาหารภูมิปัญญาที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

 

50 0

5. ประชุมสัมมนาเรื่องไอซีทีกับสุขภาพ

วันที่ 9 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมสัมมนาเพื่อแนะนำสมาชิก และเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากไอซีที เพื่อการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ได้รับความรู้จากการประชุมสัมมนา และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพกับไอซีที

 

50 0

6. สืบสานขนมภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ

วันที่ 16 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการสืบสานขนมต่างๆที่มีการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการทำและประโยชน์ที่ได้รับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน มีความรู้เกี่ยวกับขนมโบราณที่เป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สมาชิกกลุ่มมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : จำนวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกกลุ่มมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมสัมมนาแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ (2) กิจกรรมสืบสานอาหารภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ (3) ประชุมสัมมนาเรื่องไอซีทีกับสุขภาพ (4) สืบสานขนมภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ (5) กิจกรรมออกกำลังกาย เดิน-วิ่งยามเช้า (6) กิจกรรมวิเคราะห์สุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพในยุคไทยแลนด์ 4.0 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2522-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลแว้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด