กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิด ปี 2561 ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
รพสต.ตำบลห้วยกระทิง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิด ปี 2561

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4115-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิด ปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิด ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิด ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4115-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญที่มุ่งเน้นพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต จากข้อมูลอนามัยแม่และเด็กตำบลห้วยกระทิง ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงมีครรภ์ สามี ญาติ ในขณะตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงมีครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒สัปดาห์ ปัญหาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจของมารดาที่ตั้งครรภ์ ส่งผลให้มารดาที่ตั้งครรภ์เจ็บป่วยและคลอดก่อนกำหนด ทารกที่คลอดมีสุขภาพไม่แข็งแรงและมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม เป็นต้น จากการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของ ตำบลห้วยกระทิง ปี ๒๕๖๐พบ ปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม คิดเป็นร้อยละ 13.96ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งมีสาเหตุมาจากการคลอดก่อนกำหนด การมีภาวะทุพโภชนาการของมารดาและมารดาอายุน้อยกว่า ๒๐ ปีคิดเป็นร้อยละ 35.78ปัญหาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ คิดเป็นร้อยละ10.81 ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน และปัญหาการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 94.25 ซึ่งยังไม่ครบถ้วน 100%และการฝากครรภ์ไม่ครบ ๔ ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งมีสาเหตุจากการขาดความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์และการย้ายถิ่นจากสภาพปัญหาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ดังกล่าว จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยกระทิง เห็นถึงความสำคัญในการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิด ปี 2561 โดยให้องค์กรในชุมชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการในตำบลห้วยกระทิง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. .1. เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแก่ หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ตลอดจนสามีและญาติ
  2. ๒. เพื่อส่งเสริมสุขภาพสตรี ระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอด
  3. 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม แกนนำชุมชน ให้มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เกิดการมีส่วนร่วมและได้รับความร่วมมือจาก องค์กรชุมชนและ องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิงในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ๒. แกนนำอสม. หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. ชุมชนมีสื่อประชาสัมพันธ์ ในการรณรงค์เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ๔. อสม , แกนนำชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสามารถถ่ายทอดความรู้ สู่ชุมชนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 .1. เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแก่ หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ตลอดจนสามีและญาติ
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ ๙๐ ของหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ตลอดจนสามีและญาติมีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพ ๒.ร้อยละ ๘0 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์
    0.00

     

    2 ๒. เพื่อส่งเสริมสุขภาพสตรี ระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอด
    ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพ ตั้งแต่ครั้งแรกจนถึงระยะก่อนคลอด ๒.ร้อยละ 50 ของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิด จนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว
    0.00

     

    3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม แกนนำชุมชน ให้มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 85 ของแกนนำอสม.มีบทบาทหน้าที่ด้านอนามัยแม่และเด็ก. ๒.ร้อยละ ๙๐ ของหญิงหลังคลอด ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยแกนนำ อสม.
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .1. เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแก่ หญิงวัยเจริญพันธ์  หญิงตั้งครรภ์  และหญิงหลังคลอด ตลอดจนสามีและญาติ  (2) ๒. เพื่อส่งเสริมสุขภาพสตรี ระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอด  (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ  อสม แกนนำชุมชน  ให้มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิด ปี 2561 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L4115-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพสต.ตำบลห้วยกระทิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด