กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมอนามัยใส่ใจการบริโภคอาหารเดือนรอมฎอน
รหัสโครงการ 61-L3029-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลประจัน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2561
งบประมาณ 60,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวฮารีเมาะ ประมวลการ
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.797,101.289place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2561 31 ก.ค. 2561 60,500.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 60,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลประจัน มีความห่วงใยต่อการบริโภคอาหารและทานยารักษาโรคให้ปลอดภัยในช่วงเทศกาลถือศีลอดเดือนรอมฏอนเนื่องจากเป็นช่วงที่พี่น้องชาวมุสลิม โดยเฉพาะพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใต้เข้าสู่เทศกาลถือศีลอด ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน และเป็นการยึดหลักความเสมอภาคกันเทศกาลถือศีลอด ทำให้วิถีชีวิตของชาวมุสลิมในการบริโภคที่ปรับเปลี่ยนไป โดยจะมีการบริโภคอาหารหลัก 2 เวลา คือมื้อแรกก่อนรุ่งอรุณ และมื้อสองหลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าเพื่อดำเนินกิจกรรมตามหลักศาสนา เช่น การปฏิบัติตน การชำระร่างกายตามแนวหลักซุนนะฮฺเสริมอีมานเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ การเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร การบริโภคอาหารก่อนละศีลอด เพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงลดการเจ็บป่วย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลประจัน จึงมีความเป็นห่วงในเรื่องการดูแลสุขภาพของพี่น้องมุสลิมที่ปฏิบัติศาสนกิจ ในช่วงเดือนรอมฏอน ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน ซึ่งอาจจะเกิดโรคขึ้นได้ในช่วงการถือศีลอด เช่นโรคอาหารเป็นพิษ โรคอุจาระร่วงอย่างรุนแรง เป็นต้น ในการนี้ เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพรวมถึงการรับประทานยารักษาโรคต่างๆของพี่น้องชาวมุสลิมเพื่อให้ปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างครบถ้วนสมบรูณ์ช่วงดังกล่าว จึงแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพในเดือนรอมฏอน เพื่อระบบสุขภาพที่ดี จึงเป็นบทบาทของทุกคนที่จะให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 เม.ย. 61 - 31 ก.ค. 61 โครงการส่งเสริมอนามัยใส่ใจการบริโภคอาหารเดือนรอมฏอน จัดโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลประจัน ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน 300 60,500.00 60,500.00
รวม 300 60,500.00 1 60,500.00

4.๑ จัดทำบันทึกข้อความและโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินโครงการ 4.๒ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรและเตรียมทีมวิทยากร 4.๓ ดำเนินการอบรม จำนวน1วันโดยใช้เวลา 6 ชั่วโมง -อบรมให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพในช่วงเดือนรอมฎอน
-อบรมให้ความรู้ในเรื่องของอาหารที่เหมาะสมต่อสุขภาพในเดือนรอมฎอน -กิจกรรมการปฏิบัติศาสนกิจร่วมกัน เพื่อสร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน 4.๔ สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

9.1 ได้ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ ถูกต้อง
9.2 ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน
9.3 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนา ได้ฝึกฝนความอดทน ได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนใน 9.4 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้ออาหาร การทำความสะอาด การประกอบอาหารอย่างถูกวิธีและถูกสุขลักษณะ 9.5 เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอดได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2561 14:51 น.