กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561 ”
ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางซูบัยดะห์ปะกิยา




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561

ที่อยู่ ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3029-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3029-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงเป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม การก้าวเข้าสู่ทศวรรษใหม่
ของประเทศไทย ที่ยังคงยืนยันในทิศทางการพัฒนาที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและต้องการเห็นประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา               การพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานในทศวรรษใหม่ จะรวมกระบวนการพัฒนาสุขภาพอย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยมีหัวใจของความสำเร็จอยู่ที่การพัฒนาคนให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ด้วยเหตุผล มีสติ รู้จักคิด มีวิธีคิดที่ถูกต้อง เพื่อการตัดสินใจบนพื้นฐานที่ถูกต้อง เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ ดังนั้นการขับเคลื่อนงานสาธารณสุขมูลฐาน ในรูปลักษณ์ใหม่ที่สร้างความสมดุลระหว่างรูปแบบการให้บริการกับรูปแบบการพัฒนา ที่ต้องอาศัยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) เป็นกระบวนการหรือตัวกลางที่จะนำไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ ประชาชนแสดงบทบาท จึงต้องมีการปรับบทบาท อสม.จากบริการไปสู่การพัฒนาเพื่อสังคม
              อสม. ต้องเป็นผู้มีจุดหมายปลายทางในการทำงาน และมีบทบาทในการเป็นผู้นำในการบริหารนโยบายไปสู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับพื้นที่ เป็นผู้นำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งของตนเองและสร้างพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน ทั้งในงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการเฝ้าระวังสุขภาพและคัดกรองผู้ป่วย และสามารถรายงานเฝ้าระวังสงสัยในชุมชนได้ดี และเป็นผู้นำในการดูแลสภาวะแวดล้อมและรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน และสภาวะแวดล้อมของสังคม เตรียมและริเริ่มมาตรการทางสังคมใหม่ ที่จะมีผลต่อการขจัดหรือลดปัญหาทางสุขภาพ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมและนวัตกรรมของชุมชน สร้างจิตสำนึกประชาชนในการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพและสร้างโอกาสให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพอนามัยของชุมชน           ในปีงบประมาณ 2558  กระทรวงสาธารณสุข กำหนดนโยบายให้ อสม. เป็นแกนนำ ในการดำเนินการจัดระบบเฝ้าระวังของชุมชน เชื่อมประสานองค์กรปกครองท้องที่และท้องถิ่นในการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมของชุมชน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นองค์กรที่เข้มแข็งในการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แบบเรียนรู้จากการทำงาน  จนเกิดองค์กรเรียนรู้ คือ โรงเรียน อสม. ภายใต้การกำกับ สนับสนุนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) และกองทุนสุขภาพตำบลสนับสนุนกิจกรรมการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคชุมชน             โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตตำบลประจัน  จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในตำบลประจัน  ปีงบประมาณ 2561 โดยใช้รูปแบบการอบรมและฝึกปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ และเรียนรู้จากการทำงาน  โดยหวังว่าสื่อบุคคล คือ ตัว อสม. จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่ต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนา อสม.ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมให้ อสม.มีโอกาสเรียนรู้ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลายหลาย 3. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำ นโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อส่งเสริมให้อสม.ที่ได้รับการพัฒนาสามารถดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.)ทุกแห่งได้อย่างเข้มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ (อสม.) มีโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ทั้งในด้านการบริหาร วิชาการ และการปฏิบัตืเพื่อยกระดับการบริการประชาชนและมีหน้าที่ในการสร้างสุขภาพและบริการชุมชนของตนเอง เพื่อให้ประชาชนสามารถพึงตนเองได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึง อสม.สามารถนำประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการศึกษาต่อเนื่องด้วยตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561

วันที่ 22 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่  1 ประชุมชี้แจง /เตรียมทีมวิทยากร ระยะเวลาดำเนินการ  เดือนมกราคม – กันยายน2561 กิจกรรมที่  2 อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.  ระยะเวลาดำเนินการ  เดือนกรกฎาคม–กันยายน  2561 กิจกรรมที่  3    การติดตามและประเมินผล ระยะเวลาดำเนินการ เดือนเมษายน – กันยายน 2561 ระยะเวลาดำเนินการ  เดือนมกราคม – กันยายน 2561 กิจกรรมที่  3    การติดตามและประเมินผล ระยะเวลาดำเนินการ เดือนมกราคม – กันยายน 2561 - 3 –

กิจกรรมที่  2 อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.
ระยะเวลาดำเนินการ  เดือนมกราคม – กันยายน 2561 กิจกรรมที่  3    การติดตามและประเมินผล ระยะเวลาดำเนินการ เดือนมกราคม – กันยายน 2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ทั้งในด้านการบริหาร วิชาการ และการปฏิบัติเพื่อยกระดับการบริการประชาชนและมีหน้าที่ในการสร้างสุขภาพและบริการชุมชนของตนเอง เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึง อสม.สามารถนำประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการศึกษาต่อเนื่องด้วยตนเอง

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนา อสม.ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมให้ อสม.มีโอกาสเรียนรู้ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลายหลาย 3. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำ นโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อส่งเสริมให้อสม.ที่ได้รับการพัฒนาสามารถดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.)ทุกแห่งได้อย่างเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)                              1.  เพื่อพัฒนา อสม.ให้มีความรู้  ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน                              2.  เพื่อส่งเสริมให้ อสม.มีโอกาสเรียนรู้ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลายหลาย                              3.  เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำ                                นโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ                          4.เพื่อส่งเสริมให้อสม.ที่ได้รับการพัฒนาสามารถดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.)ทุกแห่งได้อย่างเข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3029-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซูบัยดะห์ปะกิยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด