กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2561 ”

ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอบียะ อูมา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3001-4-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2561 ถึง 15 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3001-4-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2561 - 15 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี มีความห่วงใยต่อการบริโภคอาหารและทานยารักษาโรคให้ปลอดภัยในช่วงเทศกาลถือศีลอดเดือนรอมฏอน เนื่องจากเป็นช่วงที่พี่น้องชาวมุสลิม โดยเฉพาะพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใต้เข้าสู่เทศกาลถือศีลอด ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน และเป็นการยึดหลักความเสมอภาคกันเทศกาลถือศีลอด ทำให้วิถีชีวิตของชาวมุสลิมในการบริโภคที่ปรับเปลี่ยนไป โดยจะมีการบริโภคอาหารหลัก 2 เวลา คือมื้อแรกก่อนรุ่งอรุณ และมื้อสองหลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าเพื่อดำเนินกิจกรรมตามหลักศาสนา เช่น การปฏิบัติตน การชำระร่างกายตามแนวหลักซุนนะฮฺ เสริมอีมานเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ การเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร การบริโภคอาหารก่อนละศีลอด เพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงลดการเจ็บป่วย อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเกาะจัน มีความห่วงใยในเรื่องการดูแลสุขภาพของพี่น้องมุสลิมที่ปฏิบัติศาสนกิจ ในช่วงเดือนรอมฏอน ซึ่งถือว่าเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิมในการละเว้นการบริโภคอาหาร เป็นระยะเวลา 1 เดือน ซึ่งอาจจะเกิดโรคขึ้นได้ในช่วงการถือศีลอด เช่นโรคอาหารเป็นพิษ โรคอุจาระร่วงอย่างรุนแรง เป็นต้น ในการนี้ เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพรวมถึงการรับประทานยารักษาโรคต่างๆของพี่น้องชาวมุสลิมเพื่อให้ปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างครบถ้วนสมบรูณ์ช่วงดังกล่าว จึงแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพในเดือนรอมฏอน เพื่อระบบสุขภาพที่ดี จึงเป็นบทบาทของทุกคนที่จะให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตำย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนา ได้ฝึกฝนความอดทน ได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน
  4. ข้อที่ 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง 2.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน 3.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนา ได้ฝึกฝนความอดทน ได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน 4.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศิลอด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 15 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ - หัวข้อความประเสริฐของเดือนรอมฎอนและแนวทางการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติแห่งอิสลาม - ให้ความรู้ความเข้าใจในประเด็นโภชนาการในเดือนอมฎอน - ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างการถือศิลอด - ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังในเดือนรอมฎอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2561 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ประชาชนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ผลการดำเนินงานในครั้งนี้ ทำให้ประชาชนตระหนักถึงการดูแลสุขภาพตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้การถือศิลอดในเดือนรอมฏอนเป็นไปด้วยความถูกต้อง ถูกสุขลักษณะ ประชาชนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ทำให้ร่างกายมีพลังงานในช่วงการถือ  ศิลอด และสามารถปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างถูกต้อง กลุ่มผู้สูบบุหรี่มีแนวโน้มที่จะเลิกบุหรี่ เนื่องจากการไม่สูบบุหรี่ในช่วงตลอดวันที่อยู่ในช่วงถือศิลอด และการถือศิลอดสำหรับผู้ป่วยนั้น ทำให้รู้สึกว่าไม่ใช่อุปสรรค์ เพราะสามารถปรับวิธีการรับประทานยาอย่างถูกวิธี และทำให้สามารถถือศิลอดได้อย่างถูกต้องและเต็มประสิทธิภาพ

 

600 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง
90.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน
85.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนา ได้ฝึกฝนความอดทน ได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนา ได้ฝึกฝนความอดทน ได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน
80.00

 

4 ข้อที่ 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน
95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนและหลังการละศีลอดที่ถูกต้อง (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายในเดือนรอมฎอน (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของศาสนา ได้ฝึกฝนความอดทน ได้รู้จักการให้ สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชุมชน (4) ข้อที่ 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาในช่วงเดือนรอมฎอน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3001-4-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอบียะ อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด