โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง ”
ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
อสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
มิถุนายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง
ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงหรือโรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมองเป็นภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้กับทุกคนหากไม่หลีกเลี่ยงหรือลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคก็จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกายร่วมกับปัจจัยอื่นๆ ก่อให้เกิดกลุ่มอาการเมตาบอลิกได้แก่การมีไขมันในเลือดผิดปกติความดันโลหิตสูงมีภาวะดื้อฮอร์โมนอินซูลิน นอกจากนี้ยังมีภาวะผิดปกติอื่นๆ ในกระแสโลหิตมีแนวโน้มให้เกิดการอักเสบในผนังหลอดเลือดและเกิดลิ่มเลือดแข็งตัวได้ง่ายจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพอย่างเงียบ ๆ ก่อให้เกิดโรคหลายอย่าง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายในระดับต้นๆ สาเหตุที่ก่อให้กลุ่มอาการเมตาบอลิกได้แก่พฤติกรรมบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ภาวะความเครียด ดื่มสุราสูบบุหรี่ภาวะฮอร์โมนผิดปกติรวมถึงปัจจัยด้านอายุอายุเพิ่มมากขึ้นยิ่งมีผลต่อความเสี่ยงกลุ่มอาการเมตาบอลิกมากขึ้น ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกายเพื่อควบคุมและลดน้ำหนักตัว ควบคุมอารมณ์ งดการดื่มสุราและการสูบบุหรี่ จึงเป็นแนวทางแรกของ การต่อสู้ภาวะเมตาบอลิก ซึ่งทุกคนสามารถกระทำได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายซึ่งสอดคล้องกับกระแสการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเอง
จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในปี 2559
ผลการตรวจคัดกรองในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป การตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีผู้ได้รับการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีตรวจน้ำตาลจากปลายนิ้ว จำนวน 2,164 คน พบกลุ่มที่มีระดับน้ำตาลในเลือด 100 - 125 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร(เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน) ร้อยละ 12.24 และพบกลุ่มที่มี ระดับน้ำตาลในเลือด 126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป ร้อยละ 1.76 ซึ่งได้ส่งตรวจวินิจฉัยโรคเบาหวานและรักษา ร้อยละ 0.59 ผลงานการคัดกรองความดันโลหิตสูง พบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต 120/80-139/89 มิลลิเมตรปรอท (เสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและหัวใจ หลอดเลือด) ร้อยละ 35.97 และพบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต140/90 มิลลิลิตรปรอทขึ้นไป ร้อยละ 6.71 ซึ่งได้ส่งตรวจวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงและรักษา ร้อยละ 1.37
ด้วยเหตุนี้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน
จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่ออบรมให้ความรู้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำครอบครัว ( อสม. ) เพื่อได้นำความรู้
ไปติดตามกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ได้จากการตรวจคัดกรองปี
2560ในการปรับความคิดและพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องนำไปสู่ภาวะสุขภาพ
ที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง)
- เพื่อให้อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
84
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ-โรคเบาหวาน)
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ-โรคเบาหวาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้แปรผลการตรวจวัดความดัน เบาหวาน ดัชนีมวลกาย ได้ถูกต้อง
วันที่ 16 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่ม อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนนจำนวน79คนได้รับความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีทักษะในการตรวจวัดความดัน การชั่งน้ำหนัก การวัดส่วนสูง การคำนวณดัชนีมวลกายสามารถนำความรู้ ทักษะที่ได้รับไปเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชนของคนเองได้ถูกต้องและมั่นใจยิ่งขึ้น
84
84
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่ม อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนน จำนวน 79 คน ได้รับความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีทักษะในการตรวจวัดความดัน การชั่งน้ำหนัก การวัดส่วนสูง การคำนวณดัชนีมวลกาย สามารถนำความรู้ ทักษะที่ได้รับไปเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชนของคนเองได้ถูกต้อง และมั่นใจยิ่งขึ้น
รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 84 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 84 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 5,880 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน จำนวน 1 วัน เหมาจ่าย ต่อคนต่อวัน เป็นเงิน 2,400 บาท
4. ค่าวัสดุ เป็นเงิน 1,580 บาท
5. ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 900 บาท
รวมเป็นเงิน 14,960 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง)
ตัวชี้วัด : อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง)
2
เพื่อให้อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
84
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
84
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง) (2) เพื่อให้อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( อสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง ”
ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
อสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน
มิถุนายน 2560
ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงหรือโรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมองเป็นภัยเงียบที่เกิดขึ้นได้กับทุกคนหากไม่หลีกเลี่ยงหรือลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคก็จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกายร่วมกับปัจจัยอื่นๆ ก่อให้เกิดกลุ่มอาการเมตาบอลิกได้แก่การมีไขมันในเลือดผิดปกติความดันโลหิตสูงมีภาวะดื้อฮอร์โมนอินซูลิน นอกจากนี้ยังมีภาวะผิดปกติอื่นๆ ในกระแสโลหิตมีแนวโน้มให้เกิดการอักเสบในผนังหลอดเลือดและเกิดลิ่มเลือดแข็งตัวได้ง่ายจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพอย่างเงียบ ๆ ก่อให้เกิดโรคหลายอย่าง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายในระดับต้นๆ สาเหตุที่ก่อให้กลุ่มอาการเมตาบอลิกได้แก่พฤติกรรมบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ภาวะความเครียด ดื่มสุราสูบบุหรี่ภาวะฮอร์โมนผิดปกติรวมถึงปัจจัยด้านอายุอายุเพิ่มมากขึ้นยิ่งมีผลต่อความเสี่ยงกลุ่มอาการเมตาบอลิกมากขึ้น ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกายเพื่อควบคุมและลดน้ำหนักตัว ควบคุมอารมณ์ งดการดื่มสุราและการสูบบุหรี่ จึงเป็นแนวทางแรกของ การต่อสู้ภาวะเมตาบอลิก ซึ่งทุกคนสามารถกระทำได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายซึ่งสอดคล้องกับกระแสการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเอง
จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในปี 2559
ผลการตรวจคัดกรองในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป การตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีผู้ได้รับการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีตรวจน้ำตาลจากปลายนิ้ว จำนวน 2,164 คน พบกลุ่มที่มีระดับน้ำตาลในเลือด 100 - 125 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร(เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน) ร้อยละ 12.24 และพบกลุ่มที่มี ระดับน้ำตาลในเลือด 126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป ร้อยละ 1.76 ซึ่งได้ส่งตรวจวินิจฉัยโรคเบาหวานและรักษา ร้อยละ 0.59 ผลงานการคัดกรองความดันโลหิตสูง พบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต 120/80-139/89 มิลลิเมตรปรอท (เสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและหัวใจ หลอดเลือด) ร้อยละ 35.97 และพบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต140/90 มิลลิลิตรปรอทขึ้นไป ร้อยละ 6.71 ซึ่งได้ส่งตรวจวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงและรักษา ร้อยละ 1.37
ด้วยเหตุนี้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน
จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่ออบรมให้ความรู้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำครอบครัว ( อสม. ) เพื่อได้นำความรู้
ไปติดตามกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ได้จากการตรวจคัดกรองปี
2560ในการปรับความคิดและพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องนำไปสู่ภาวะสุขภาพ
ที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง)
- เพื่อให้อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 84 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ-โรคเบาหวาน)
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ-โรคเบาหวาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้แปรผลการตรวจวัดความดัน เบาหวาน ดัชนีมวลกาย ได้ถูกต้อง |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่ม อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนนจำนวน79คนได้รับความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีทักษะในการตรวจวัดความดัน การชั่งน้ำหนัก การวัดส่วนสูง การคำนวณดัชนีมวลกายสามารถนำความรู้ ทักษะที่ได้รับไปเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชนของคนเองได้ถูกต้องและมั่นใจยิ่งขึ้น
|
84 | 84 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่ม อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนน จำนวน 79 คน ได้รับความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีทักษะในการตรวจวัดความดัน การชั่งน้ำหนัก การวัดส่วนสูง การคำนวณดัชนีมวลกาย สามารถนำความรู้ ทักษะที่ได้รับไปเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชนของคนเองได้ถูกต้อง และมั่นใจยิ่งขึ้น
รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 84 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 84 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 5,880 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน จำนวน 1 วัน เหมาจ่าย ต่อคนต่อวัน เป็นเงิน 2,400 บาท
4. ค่าวัสดุ เป็นเงิน 1,580 บาท
5. ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 900 บาท
รวมเป็นเงิน 14,960 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง) ตัวชี้วัด : อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง) |
|
|||
2 | เพื่อให้อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 84 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 84 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. ได้พัฒนาความรู้ในการติดตามกลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันฯ โรคเบาหวานที่ถูกต้อง) (2) เพื่อให้อสม.ได้ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางการควบคุมโรคความดันฯ โรคเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( อสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......