กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าพะยอม


“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสุงในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาลีแก้วสมพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชศาสคร์และบริการด้านปฐมภูมิ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสุงในชุมชน ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L8416-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสุงในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าพะยอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสุงในชุมชน ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสุงในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L8416-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าพะยอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก
จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานค่อนข้างสูง ข้อมูลจากระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดพัทลุง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2560มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 61,680 คน อัตราป่วย 11,703.90ต่อแสนประชากร และมีผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 22,487 คน อัตราป่วย5,679.17 ต่อแสนประชากร อำเภอป่าพะยอมมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 3,327 คน อัตราป่วย 9,500.29ต่อแสนประชากร และมีผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 1,234คน อัตราป่วย3,523.70 ต่อแสนประชากร ตำบลป่าพะยอม มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 646 คน อัตราป่วย 16,466.99ต่อแสนประชากร และมีผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 245คน อัตราป่วย6,245.22 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าอัตราป่วยในระดับอำเภอและระดับจังหวัด สรุปผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในปี 2560 ความครอบคลุมการคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 97 เป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 24.59 กลุ่มป่วยร้อยละ 9.95 ความครอบคลุมการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 99.54 เป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 43.49 กลุ่มป่วยร้อยละ 26.34 จากรายงานดังกล่าวจะเห็นว่าความชุกและอุบัติการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของตำบล ป่าพะยอมสูงมาก และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจะก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคมเศรษฐกิจของผู้ป่วย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ทราบว่าตนเองเป็นโรคดังกล่าวเมื่อมีอาการรุนแรงแล้ว และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะแทรกซ้อนของโรค เช่น ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ภาวะไตวาย ซึ่งพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนมากกว่าเกิดจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยตรง ดังนั้นผู้ป่วยจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลจากบุคลากรด้านสาธารณสุขและมีการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในการควบคุมโรคเพื่อป้องกันและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ซึ่งหลักการในการควบคุมโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง คือการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การควบคุมอารมณ์ และรับการรักษาต่อเนื่อง ซึ่งการที่จะควบคุมโรคได้นั้น ผู้ป่วยจะต้องได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและต่อเนื่อง ซึ่งหากประชาชนได้รับความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จะทำให้ทราบถึงสถานะสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมกับตนเองได้
กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิ โรงพยาบาลป่าพะยอม ซึ่งรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบลป่าพะยอม จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนขึ้น เพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบซึ่งมีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป และกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้ที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยจากแพทย์ ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค และกลุ่มที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลที่ถูกต้องและต่อเนื่องเหมาะสมกับสภาวะสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายและให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 2,521
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป และกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.ผู้ที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องและสามารถควบคุมโรคได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2521
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,521
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายและให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสุงในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L8416-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาลีแก้วสมพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชศาสคร์และบริการด้านปฐมภูมิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด