โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนันทนีนักรำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง
กันยายน 2559
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,688.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันเราอยู่ในช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ประชาชนจะมีบทบาททางสาธารณสุขมากขึ้น สังเกตได้จากการกิดขึ้นของพระราชบัญญัติสาธารณสุขแห่งชาติ นอกจากนี้ท้องถิ่นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทต่าง ๆ ก็จะมีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของประชาชนมากขึ้นเป็นลำดับ ตามแนวทางการกระจายอำนาจ ซึ่งดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งการที่เรามีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ ก็ได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในระบบสาธารณสุข ทั้งในด้านวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการ ตลอดจนการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถเป็นบริการที่รัฐบาลจัดให้กับประชาชนคนไทยทุกคน ไม่ใช่สำหรับจัดบริการเฉพาะกลุ่มผู้มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเท่านั้น แต่เป็นการบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง รวมทั้งกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการในพื้นที่
เทศบาลตำบลกำแพง ได้เข้าร่วมโครงการจัดระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2560 (ปีที่ 10) ไดรับการจัดสรรงบประมาณรายหัว 45 บาท/ปี (คิดตามประชากรทะเบียนราษฎร์เทศบาลตำบลกำแพง) เพื่อให้การดำเนินงานหลักประกันสุขภาเทศบาลตำบลกำแพง มีประสิทธิภาพ เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชนและท้องถิ่น จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลกำแพง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการสาธารณสุข โดยเน้นเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต
- เพื่อสรุปผลการดำเริรงานปีงบประมาณ 2559 และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการจัดทำแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560
- เพื่อเป็นการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครุภัณฑ์ที่มีความจำเป็นในการบริหารจัดการกองทุน
- เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในท้องถิ่น ในการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ของบุคคลในท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
40
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หน่วยบริการสาธารณสุขได้มีการจัดบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ โดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิตอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม
- ภาคีเครือข่ายในการพัฒนาสุขภาพของท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระบบสุขภาพของตนเองในท้องถิ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไม่มีการจัดซื้อวัสดุ
0
0
2. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการปี 59
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทราบผลการดำเนินงานโครงการในปีที่่ผ่านมา
25
20
3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุน
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการอนุมัติงบประมาณและการดำนินงานโครงการ
20
20
4. จัดทำแผนสุขภาพชุมชน
วันที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทราบถึงปัญหาสุขภาพในพื้นที่ มีแผนสุขภาพชุมชน
60
60
5. ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการกองทุนฯ
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
20
20
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการได้จัดประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ 1 ครั้ง ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน จำนวน 5 ครั้ง จัดทำแผนสุขภาพชุมชน 1 ครั้ง และมีการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุนฯ ณ เทศบาลตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการสาธารณสุข โดยเน้นเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อสรุปผลการดำเริรงานปีงบประมาณ 2559 และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการจัดทำแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อเป็นการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครุภัณฑ์ที่มีความจำเป็นในการบริหารจัดการกองทุน
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในท้องถิ่น ในการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ของบุคคลในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
40
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการสาธารณสุข โดยเน้นเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต (2) เพื่อสรุปผลการดำเริรงานปีงบประมาณ 2559 และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการจัดทำแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 (3) เพื่อเป็นการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครุภัณฑ์ที่มีความจำเป็นในการบริหารจัดการกองทุน (4) เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในท้องถิ่น ในการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ของบุคคลในท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนันทนีนักรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนันทนีนักรำ
กันยายน 2559
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,688.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันเราอยู่ในช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ประชาชนจะมีบทบาททางสาธารณสุขมากขึ้น สังเกตได้จากการกิดขึ้นของพระราชบัญญัติสาธารณสุขแห่งชาติ นอกจากนี้ท้องถิ่นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทต่าง ๆ ก็จะมีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของประชาชนมากขึ้นเป็นลำดับ ตามแนวทางการกระจายอำนาจ ซึ่งดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งการที่เรามีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ ก็ได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในระบบสาธารณสุข ทั้งในด้านวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการ ตลอดจนการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถเป็นบริการที่รัฐบาลจัดให้กับประชาชนคนไทยทุกคน ไม่ใช่สำหรับจัดบริการเฉพาะกลุ่มผู้มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเท่านั้น แต่เป็นการบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง รวมทั้งกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการในพื้นที่ เทศบาลตำบลกำแพง ได้เข้าร่วมโครงการจัดระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2560 (ปีที่ 10) ไดรับการจัดสรรงบประมาณรายหัว 45 บาท/ปี (คิดตามประชากรทะเบียนราษฎร์เทศบาลตำบลกำแพง) เพื่อให้การดำเนินงานหลักประกันสุขภาเทศบาลตำบลกำแพง มีประสิทธิภาพ เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชนและท้องถิ่น จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลกำแพง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการสาธารณสุข โดยเน้นเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต
- เพื่อสรุปผลการดำเริรงานปีงบประมาณ 2559 และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการจัดทำแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560
- เพื่อเป็นการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครุภัณฑ์ที่มีความจำเป็นในการบริหารจัดการกองทุน
- เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในท้องถิ่น ในการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ของบุคคลในท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 40 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หน่วยบริการสาธารณสุขได้มีการจัดบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ โดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิตอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม
- ภาคีเครือข่ายในการพัฒนาสุขภาพของท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระบบสุขภาพของตนเองในท้องถิ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่มีการจัดซื้อวัสดุ
|
0 | 0 |
2. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการปี 59 |
||
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทราบผลการดำเนินงานโครงการในปีที่่ผ่านมา
|
25 | 20 |
3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุน |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการอนุมัติงบประมาณและการดำนินงานโครงการ
|
20 | 20 |
4. จัดทำแผนสุขภาพชุมชน |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทราบถึงปัญหาสุขภาพในพื้นที่ มีแผนสุขภาพชุมชน
|
60 | 60 |
5. ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการกองทุนฯ |
||
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
|
20 | 20 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการได้จัดประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ 1 ครั้ง ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน จำนวน 5 ครั้ง จัดทำแผนสุขภาพชุมชน 1 ครั้ง และมีการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุนฯ ณ เทศบาลตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการสาธารณสุข โดยเน้นเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อสรุปผลการดำเริรงานปีงบประมาณ 2559 และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการจัดทำแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อเป็นการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครุภัณฑ์ที่มีความจำเป็นในการบริหารจัดการกองทุน ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในท้องถิ่น ในการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ของบุคคลในท้องถิ่น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 40 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการสาธารณสุข โดยเน้นเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต (2) เพื่อสรุปผลการดำเริรงานปีงบประมาณ 2559 และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการจัดทำแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 (3) เพื่อเป็นการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ครุภัณฑ์ที่มีความจำเป็นในการบริหารจัดการกองทุน (4) เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในท้องถิ่น ในการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ของบุคคลในท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2560 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนันทนีนักรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......