กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวิไลวรรณอย่างดี , นางสาวศุพรรัตน์โสสนุย , นางสาวอุไรวรรณหลีหาด , นางสาวอนาทินีเสียมไหม

ชื่อโครงการ บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารคือสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและสมองเมื่อรับประทานเข้าไปจะนำไปเลี้ยงสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จะต้องรับประทานให้ครบ๕หมู่ การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อร่างกายเด็กก็เจริญเติบโตได้อย่างเต็มศักยภาพ แต่ถ้าน้ำหนักและส่วนสูงไม่ตามเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข เด็กร่างกายอ่อนแอ เจ็บไข้ได้ป่วยได้ง่าย ซึ่งมีปัจจัยต่างๆ ได้แก่การบริโภคอาหารของเด็กไม่ถูกต้องตามโภชนาการ โดยเฉพาะขนมกรุบกรอบการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ถ้าหากรับประทานไม่ถูกสัดส่วนก็จะนำไปสู่การเกิดโรคเหงือกและฟันผุได้ อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต น้ำตาล และแป้งสูง จะเป็นปัจจัยสำคัญในการเกิดกรดแบคทีเรียที่ไปทำลายเคลือบฟัน ในที่สุดแล้ว กรดเหล่านี้ก็จะทำให้เคลือบฟันเสื่อม และทำให้เกิดฟันผุสุขภาพในช่องปากนั้นมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลรักษาสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วยปัญหาสุขภาพในช่องปากมีหลายสาเหตุ โรคและความผิดปกติในช่องปากของเด็กเล็กมีหลายประการทั้งนี้อาจมาจากพฤติกรรมด้านสุขภาพของเด็กนักเรียนที่เสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคในช่องปาก แต่ปัญหาที่ชัดเจนที่สุดคือโรคฟันผุ พบว่า โดยมากแล้วเด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ ๑ ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็กอายุ ๑-๓ ขวบเนื่องจาก พฤติกรรมการการบริโภคขนมหวานเหนียวติดฟัน พฤติกรรมการกินนมจากขวดที่เป็นสาเหตุของโรคฟันผุแต่ไม่คิดว่านมที่ตกค้างในช่องปาก ขณะที่เด็กนอนหลับจะเป็นผลให้เกิดโรคฟันผุ และขาดการดูแลเอาใจใส่ของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปาก และการที่เด็กมีฟันผุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทำให้เด็กเจ็บปวดทรมาน เสียสุขภาพ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงเด็กจึงมีส่วนสำคัญที่สุด ในการปลูกฝังพฤติกรรมดังกล่าว และจะมีผลไปจนถึงบริโภคนิสัยในอนาคต การควบคุมอาหารหวานของเด็กนับเป็นเรื่องที่น่าหนักใจสำหรับผู้ปกครอง ยิ่งเด็กที่เลี้ยงดูโดยปู่ย่าตายาย เด็กที่ไม่ได้เลี้ยงนมแม่ ยิ่งมีโอกาสได้กินน้ำตาลมากขึ้น
และจากการสำรวจเกี่ยวกับเรื่องโภชนาการการรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพสุขภาพช่องปาก ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์พบว่าประมาณร้อยละ19 ของผู้เรียนที่มีด้านโภชนาการเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ผอม เริ่มอ้วน อ้วน เตี้ย และปัญหาเกี่ยวกับฟันผุ ประมาณร้อยละ50 ของผู้เรียน ทำให้เกิดปัญหาหรือส่งผลกระทบในหลายด้าน ไม่ว่าจะทำให้ปวดฟัน พูดไม่ชัด เกิดความไม่มั่นใจในการพูด การยิ้ม รวมไปถึงการบดเคี้ยวอาหารไม่สะดวก หรือไม่สามารถรับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีเนื้อแข็ง เช่นแอปเปิ้ล ฝรั่ง แตงกวา ถั่วฝักยาว เป็นต้น
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จึงมีแนวคิดเรื่องโครงการ “บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ” ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ เพื่อส่งเสริมความรู้ในเรื่องโภชนาการการรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพและการดูแลสุขภาพปากและฟัน การสอนให้เด็กดูแลสุขภาพปากและฟันอย่างถูกต้องตั้งแต่เด็กเป็นการลงทุนในสุขภาพที่สามารถปันผลให้ได้ตลอดชีวิต ครูและผู้ปกครองสามารถสร้างแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก โดยร่วมมือกับสาธารณสุขอำเภอทุ่งหว้า รพ.สต.บ้านวังตง องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ในการส่งเสริมสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก
  5. เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.๒ ประชุมชี้แจงโครงการ"บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ"กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย
  2. ๑.๓ เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก
  3. ๑.๔ กิจกรรม "น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน"
  4. ๑.๘ กิจกรรม "บ๊ายบ่าย ขวดนม"
  5. ๑.๑ ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อเข้าร่วมกันวางแผนการดำเนิงาน
  6. ๑.๕ กิจกรรม "กินเสร็จแปรงฟัน ฟันแข็งแรงทุกคน"
  7. ๑.๖ กิจกรรม "ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ"
  8. ๑.๗ อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน โดยเจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้า
  9. ๑.๙ กิจกรรม "ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง"
  10. ๑.๑๐ เวทีรายงานผลการจัดการกิจกรรม "บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ"เมื้อสิ้นสุดโครงการ
  11. ๑.๑๑ ประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  2. ผู้ปกครองและครูได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลเด็กเกี่ยวกับสุขภาพและพัฒนาการของเด็ก
  3. เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  4. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบและของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพในช่องปากและฟันของเด็ก
  5. เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑.๘ กิจกรรม "บ๊ายบ่าย ขวดนม"

วันที่ 14 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-แผนกิจกรรม
-ดำเนินการตามแผนกิจกรรม
-เอกสารประกอบการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กได้รู้และเข้าใจถงประโยชน์และโทษของการอมขวดนมและหลับคาขวดนม
-เด็กสนุกสนานกับชุดหนังสือนิทาน

 

0 0

2. ๑.๙ กิจกรรม "ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง"

วันที่ 14 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-แผนกิจกรรม
-ดำเนินการตามแผนกิจกรรม
-เอกสารประกอบการเรียนการสอน
-ให้เด็กได้ดื่มนมจืดทุกวัน
-แบบประเมินการดื่มนม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กได้รู้ถึงประโยชน์ของนมจืด

 

0 0

3. ๑.๕ กิจกรรม "กินเสร็จแปรงฟัน ฟันแข็งแรงทุกคน"

วันที่ 2 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-เด็กแปรงฟันหลังจากรับประทานอาหารเที่ยงวัน
-ชุดนิทานส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาการ และใช้ในการยืม โดยผู้ปกครองยืมหนังสือนิทานกลับไปลูกฟังที่บ้าน
-เอกสารประกอบการเรียนการสอน
-แบบประเมินความสะอาดจากการแปรงฟันเด็กหลังจากรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน
ชุดนิทานส่งเสริมสุขภาพสำหรับเด็กเกี่ยวกับการดูแลปากและฟันรวมไปถึงการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ๑๐๐ เล่มๆละ ๑๐๐ บาท = ๑๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กฟันสะอาด
-สร้างสุขนิสัยที่ดีในการบริโภคอาหาร
-เด็กสนุกสนานและเกิดจินตนาการกับนิทาน
-ใช้สำหรับให้ผู้ปกครองยืมหนังสือนิทานกลับไปลูกฟังที่บ้าน
-ส่งเสริมพฤติกรรมให้กับเด็กในการดูแลฟันและการรักษาสุขภาพร่างกายให้ปลอดภัยและแข็งแรง

 

100 0

4. ๑.๑ ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อเข้าร่วมกันวางแผนการดำเนิงาน

วันที่ 6 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจครูและคณะกรรมการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและคณะกรรมการศูนย์เข้าใจในเป้าหมายโครงการ

 

0 0

5. ๑.๒ ประชุมชี้แจงโครงการ"บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ"กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 9 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงเป้าหมายโครงการ "บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ" กับผู้ปกครอง
- ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดืม ๑๕๐ คน*๒๐ บ.= ๓,๐๐๐ บ.
- ค่าวัสดุเครื่องเขียน / กระดาษ ๑,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดของการจัดทำ "โครงการปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ" ให้กับผู้ปกครองเข้าใจและให้ความร่วมมือกับโครงการ
  • ผู้ปกครองรับทราบและร่วมดำเนินการตามโครงการ

 

150 0

6. ๑.๔ กิจกรรม "น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน"

วันที่ 20 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ครูชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงให้กับเด็กที่ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานทุกเดือน
-ติดตามประเมินผล
เครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล ๑ ชุด =๑,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-สามารถทราบและส่งเสริมภาวะโภชนาการให้กับเด็กทที่มีโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้
-ครูและผู้ปกครองร่วมกันส่งเสริมภาวะโภชนาการให้กับเด็กอย่างถูกวิธี

 

110 0

7. ๑.๗ อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน โดยเจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้า

วันที่ 24 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-เชิญเจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่ครู ผู้ปกครอง และเด็กเรื่องการดูแลสุขภาพปากและฟันพร้อมทั้งให้ผู้ปกครองและเด็กได้ร่วมทดลองปฏิบัติจริง
- ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๒๐๐ คน *๒๐ บ. = ๔,๐๐๐ บ.
- ค่าวิทยากร ๒ คนๆละ ๓ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บ. = ๓,๖๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ทุกฝ่ายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เข้าใจ รับทราบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพปาก และฟัน ปละการรับประทานอาหาร
-เด็กและผู้ปกครองได้ทำกิจกรรมร่วมกัน
-แบบประเมินความพึงพอใจผู้ปกครอง

 

200 0

8. ๑.๖ กิจกรรม "ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ"

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-แผนกิจกรรมอาหารดี มีประโยชน์
-เอกสารประกอบการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กได้รู้เข้าใจถึงโทษของขนมกรุบกรอบ

 

0 0

9. ๑.๑๐ เวทีรายงานผลการจัดการกิจกรรม "บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ"เมื้อสิ้นสุดโครงการ

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ครู ผู้ปกครอง เด็ก และผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมชมบูทกิจกรรมนิทรรศการโครงการ
- ค่าอาหารกลางวัน -อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๒๐๐ คน*๘๐ บ. ๑๖,๐๐๐ บ.
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ จัดบูท นิทรรศการผลงานเด็ก ๕,๐๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ครู ผู้ปกครอง เด็ก และผู้เกี่ยวข้องได้เห็นกิจกรรมต่างๆ ที่จัดภายใต้โครงการ บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใสใส่ใจสุขภาพจากนิทรรศการที่จัด

 

0 0

10. ๑.๑๑ ประเมินโครงการ

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

-รวบรวมเอกสาร ภาพถ่าย
-จัดทำเอกสารรายงานสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีเอกสารหลักฐานไว้เพื่อสำหรับการประเมินหรือไว้ทำโครงการครั้งต่อไป

 

0 0

11. ๑.๓ เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก

วันที่ 17 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

-เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก
-ครูจัดเตรียมความพร้อมของเด็กรอการตรวจช่องปากและฟัน
- อาหารว่างพร้อมเครื่องดืม ๑๑๐ คนๆ ๒๐ บ. =๒,๒๐๐ บ.
- ค่าวิทยากร ๒ คนๆละ ๓ ชั่วโมง ๓๐๐ บ. = ๑,๘๐๐ บ.
- ค่าวัสดะอุปกรณ์สาธิต/แผ่นโปสเตอร์/ชุดอาหาร ๑,๐๐๐ บาท
- โมเดลฟัน ๑ ชุดๆละ ๒,๐๐๐ บ.
- ชุด ๔๐ บ.=๔,๐๐๐ บ.
รวมเงิน ๑๑,๐๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ครู เด็ก และเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับสภาวะช่องปากและฟันของเด็ก
-เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
-เด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพปากและฟันรวมถึงการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

 

110 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยทุกคน
80.00

 

2 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และส่งเสริมการดูแลสุขภาพและ การส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ร้อยละ8๐
80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟัน
80.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบและของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก
80.00

 

5 เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : มีระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ได้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพและ พัฒนาการของเด็ก (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กตระหนักถึงอันตรายจากขนมกรุบกรอบ ของหวานและดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและฟันของเด็ก (5) เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.๒ ประชุมชี้แจงโครงการ"บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ"กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย  (2) ๑.๓ เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก (3) ๑.๔ กิจกรรม "น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน" (4) ๑.๘ กิจกรรม "บ๊ายบ่าย ขวดนม" (5) ๑.๑ ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อเข้าร่วมกันวางแผนการดำเนิงาน (6) ๑.๕ กิจกรรม "กินเสร็จแปรงฟัน ฟันแข็งแรงทุกคน" (7) ๑.๖ กิจกรรม "ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ" (8) ๑.๗ อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน โดยเจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้า (9) ๑.๙ กิจกรรม "ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง" (10) ๑.๑๐ เวทีรายงานผลการจัดการกิจกรรม "บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ"เมื้อสิ้นสุดโครงการ (11) ๑.๑๑ ประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


บริโภคปลอดภัย ฟันสวยสดใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิไลวรรณอย่างดี , นางสาวศุพรรัตน์โสสนุย , นางสาวอุไรวรรณหลีหาด , นางสาวอนาทินีเสียมไหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด