กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย ร่วมใจส่งเสริมสุขภาพ ”

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุกัลยาสอเหลบ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย ร่วมใจส่งเสริมสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย ร่วมใจส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย ร่วมใจส่งเสริมสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย ร่วมใจส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,365.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอยู่อาศัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ได้อย่าเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับ ครูผู้ดูแลเด็ก และเพื่อนๆ อย่างสงบสุข มีความสะดวกสะบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสมศูนย์เด็กเล็กที่มีการจัดการ ควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์เด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางกาย จิต สังคม แลละจิตวิญญาน ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสือมสุขภาพ และครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับบการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างมีความสุขกาย สบายใจ ครู ผู้ปกครอง และชุมชนมีบททบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแววดล้อม อันจะส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพที่ดีและ ทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆเพื่อให้สามารถ ดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมโดยสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้าน และศูนย์เด็ก และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจจากศูนย์เด็กเล็ก ชุมชน ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงได้บูรณาการงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการ พัฒนาอนามัยสิ่่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม อนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี เพื่อเด็กจะได้เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับ ประเทศต่อไป รวมทั้งเป็นการส่งเสริมการดำเนินงานตามมาตราการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการเพื่อป้องกันและควบคุ้มการระบาดของโรคติดต่อร้ายแรงต่างๆ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับกระทรวงมหาดไทยแจ้งว่า กระทรวงสาธารณสุขได้ขอความร่วมมือการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ใยช่วงฤดูกาลระบาดพบมากในกลุ่มอายุ 0 - 5 ปี ส่วนใหญ่อยู่ในการดูแลของสถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ซึ่งมีเด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก และเสี่ยงต่อการป่วยและการแพร่ระบาดของ โรคติดต่อไปสู่เด็กคนอื่นๆ ได้ง่าย ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้ดูแลเด็กและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การดูแลและส่งเสริมสุขภาพให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย มีความปลอดภัยและปลอดโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เนื่องจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก ทำให้เชื่อโรคสามารถแพร่เชื่อและติดต่อสู้กันได้ง่าย เมื่อมีเด็กเจ็บป่วยเพราะเด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำ จึงมีโอกาสป่วยได้ป่วยโดยเฉพาะโรคติดต่อที่สำคัญและพบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ โรคติดเชื้อระบบทางเดินทางหายใจ โรคมือ เ้า ปาก โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่ คางทูม อีสุกอีใส และหัด เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีโรคอื่นๆเช่น โรคและความผิดปกติในช่องปากที่มีปัญหาชัดเจนและพบได้ง่ายในเด็ก คือ โรคฟันผุ ซึ้งเด็กกลุ่มนี้ขาดการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม หรืออาจเข้าใจผิดคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาจาก พ่อแม่ ผู้ปกครองตั้งแต่อายุ 6 เดือน และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเด็กอายุ 13 ปี แม้ไม่และหาปล่อยปละละเลยก็มีผลกระทบต่อฝันแท้ที่จะงอกกมาใหม่ในอนาคต และเด็กอาจจะสูญฟันแท้ไปก่อนกำหนด ซึ่งความเจ็บป่วยเหล่านี้ก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและพัฒนาการของเด็กโดยรวม และจากการดำเนินงานที่ผ่านมาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาทอนได้มีการเก็บข้อมูลด้านสุขภาพของเด็กซึ้งมีเด็กทั้งหมด จำนวน 90 คน พบว่า ประมาณร้อยละ 1.8 ที่สงสัยว่าป่วยเป็นโรคมือ เท้า ปากร้อยละ 6.6 ที่ป่วยเป็นโรคตาแดง ร้อยละ 25 ที่ป่วยเป็นโรคอุจจาระร่วง ร้อยละ 28.3 ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ร้อยละ 1.6 ที่ป่วยเป็นโรคหวัดบ่อยๆและร้อยละ 48 ที่ป่วยเป็นโรคฟันผุ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเด็กศูนย์พัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็ก ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาทอน จึงได้เลงเห็นถึงความสำคัญของการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการ ''เด็กน้อยสุขภาพดี'' มีความปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้นเพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยและปลอดโรคของเด็ก เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และครูผู้ดูแลเด็ก ได้ดำเนินการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคแและจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้มีทักษะการดูแลตนเอง ซึ่งเปรียบเสมือนปราการสำคัญที่จะช่วยลดการติดเชื้อโรคและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในเด็กได้ โดยความร่วมมือของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุ่งหว้า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาทอน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1เพื่อผู้ให้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเสริมสร้างความปลอดภัยความปลอดภัยและปลอดโรคให้แก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. 1.2 เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและปลอดโรคให้แก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. 1.3 เพื่อให้เด็กได้มีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดี
  4. 1.4 เพื่อให้เกิดระบบดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง
  5. 1.5 เพื่อให้ผู้ปกครอง องค์กรเครือข่าย และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก
  6. 1.6 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัย ปลอดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รายละเอียด ขั้นตอนการดำเนินการและค่าใช้จ่าย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผุ้ประกอบอาหารได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล ส่งเสริมสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย และปลอดโรคของเด็กมากขึ้น 6.2 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัย มีพัฒนาการสมวัยความปลอดภัย และ ปลอดโรคของเด็กมากขึ้น 6.3 เด็กได้มีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดีขึ้น 6.4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกระบวนการเฝ้าระวัง ป้องกัน คบวคุมโรคและจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่องมากขึ้น 6.5 ผู้ปกครอง องค์กร เครือข่ายและชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก
มากขึ้น 6.6 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและปลอดโรคมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1เพื่อผู้ให้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเสริมสร้างความปลอดภัยความปลอดภัยและปลอดโรคให้แก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยแลปลอดโรคของเด็กปฐมวัย ร้อยละ 80
80.00

 

2 1.2 เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและปลอดโรคให้แก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : -การส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและปลอดโรคให้แก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคน
80.00

 

3 1.3 เพื่อให้เด็กได้มีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวชี้วัด : -เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดีทุกคน
80.00

 

4 1.4 เพื่อให้เกิดระบบดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกระบวนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและจัดสภาพแวดล้อม ให้ปลอดภัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องมากขึ้น
80.00

 

5 1.5 เพื่อให้ผู้ปกครอง องค์กรเครือข่าย และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครอง องค์กร เครือข่ายและชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก 2 เดือน/ครั้ง
80.00

 

6 1.6 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัย ปลอดโรค
ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและปลอดโรคร้อยละ 90 ของเกณฑ์การประเมิน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1เพื่อผู้ให้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเสริมสร้างความปลอดภัยความปลอดภัยและปลอดโรคให้แก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) 1.2 เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและปลอดโรคให้แก่เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) 1.3 เพื่อให้เด็กได้มีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดี (4) 1.4 เพื่อให้เกิดระบบดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง (5) 1.5 เพื่อให้ผู้ปกครอง องค์กรเครือข่าย และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก (6) 1.6 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัย ปลอดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รายละเอียด ขั้นตอนการดำเนินการและค่าใช้จ่าย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย ร่วมใจส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุกัลยาสอเหลบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด