กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสี่แยกไสยวนตำบลพนมวังก์อำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุง
วันที่อนุมัติ 26 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 40,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุขขุม โอฬาริกบุตร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.684,100.023place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (40,400.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงแลเบาหวานในตำบลพนมวังก์ในปี 2560 พบว่ามีประชากรกลุ่มเสี่ยง956 คนร้อยละ15.93 ผู้ป่วยเบาหวาน323 คน ร้อยละ 5.38 ความดันโลหิต519 คน ร้อยละ 8.65 พบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปีในจำนวนผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงพบว่ามีภาวะแทรกซ้อน โรคไตเสื่อมโรคจอประสาทตา โรคหัวใจหลอดเลือดโรคอัมพฤกษ์ (เส้นเลือดสมองตีบ) เพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน
จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสี่แยกไสยวน ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาในการป้องกันและควบคุมโรค เบาหวานความดันโลหิตสูงโดยได้จัดทำโครงการพัฒนาเครือข่ายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปี2561 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในตำบลอันประกอบด้วย ผู้นำชุมชนอสม. จำนวน8หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง เพื่อลดการป่วยรายใหม่และลดภาวะแทรกซ้อน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพในตำบลในการจัดการการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  1. มีทีมภาคีเครือข่าย  อสม. หมู่บ้านละ 1 ทีม
    จำนวน 8 ทีม
0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  1. ร้อยละ 90
0.00
3 ข้อที่ 3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับ ความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

3.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

0.00
4 ข้อที่ ๔เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ที่มีค่าดรรชนีมวลกายเกิน รอบเอวเกิน สมัครใจเข้ารับบริการในคลินิกไร้พุงที่สถานบริการ

4.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ที่มีค่าดรรชนีมวลกายเกิน  รอบเอวเกิน สมัครใจเข้ารับบริการในคลินิกไร้พุงที่สถานบริการ ร้อยละ 20

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,300.00 0 0.00
17 พ.ค. 61 1. การสร้างแกนนำชุมชนและการพัฒนาหลักสูตรใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแบบวิถีชุมชนโดยสร้างการมีส่วนร่วมกิจกรรมจากประชาชนกลุ่มเสี่ยงและ จัดอบรมให้ความรู้ ฝึกทักษะให้กับแกนนำ ตามหลักสูตรที่กำหนด 0 3,300.00 -
17 พ.ค. 61 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย ดำเนินการเชิงรุกโดยแกนนำเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3ห่างกันครั้งละ 1 เดือน รวมระยะเวลาเข้าร่วมกิจกรรม ถึงการประเมินผล ๓ เดือน 0 3,300.00 -
17 พ.ค. 61 3.จัดประชุมแกนนำชุมชน แกนนำกลุ่มเสี่ยง /กลุ่มป่วย จำนวน 4ครั้ง โดยสร้างการมีส่วนร่วมเป็นกรอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียน และประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และนัดบริการคลินิกไร้พุงที่ สถานบริการ 0 13,700.00 -

1.การสร้างแกนนำชุมชนและการพัฒนาหลักสูตรใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแบบวิถีชุมชนโดยสร้างการมีส่วนร่วมกิจกรรมจากประชาชนกลุ่มเสี่ยง 2. จัดอบรมให้ความรู้ ฝึกทักษะให้กับแกนนำ ตามหลักสูตรที่กำหนด 3.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย ดำเนินการเชิงรุกโดยแกนนำเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่1
ครั้งที่ 2ครั้งที่3ห่างกันครั้งละ 1 เดือนรวมระยะเวลาเข้าร่วมกิจกรรมถึงการประเมินผล3เดือน 4.จัดประชุมแกนนำชุมชน แกนนำกลุ่มเสี่ยง /กลุ่มป่วย จำนวน 4ครั้ง โดยสร้างการมีส่วนร่วมเป็นกรอบในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การถอดบทเรียน และประเมินผลการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 5. จัดบริการคลินิกไร้พุงที่ สถานบริการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน 3. มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน 4. เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2561 10:07 น.