กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน


“ ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ๒ ”

ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายอับดลอาซีด เพ็งโอ

ชื่อโครงการ ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ๒

ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L3310-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 พฤษภาคม 2561 ถึง 28 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ๒ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ๒



บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล
    อาศัยอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในตำบล เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้ป่วยเรื้อรัง,ผู้พิการ,ผู้ป่วยติดบ้าน-ติดเตียง,ผู้สูงอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป ถือเป็นบุคคลที่ขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการต่างๆของรัฐ โดยเฉพาะด้านสาธารณสุข ถ้าผู้ดูแลไม่ให้ความสำคัญ และจะทำให้คุณภาพชีวิตลดน้อยลงไปเรื่อยๆ หากไม่ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพ รวมไปถึงการพิทักษ์สิทธิ์พึงมีพึงได้ต่างๆ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน มีจำนวนผู้สูงอายุร้อยละ ๑๖ ของประชากรทั้งหมด มีจำนวนผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน ๑,๓๙๑ คน ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จำนวน ๒๔๘ คน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการจำนวน 272 คน รวม จำนวน ๑,๙๑๑ คน และมีผู้ป่วยเรื้อรังอีกจำนวนมาก ซึ่งเป็นประชากรในทุกกลุ่มวัยที่ขาดการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง   องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรังมาโดยตลอด จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในตำบลเขาชัยสน เช่น รพ.เขาชัยสน รพ.สต.ในพื้นที่ อบต.เขาชัยสน อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้มีจิตอาสาในตำบลเขาชัยสน ฯ เพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง สร้างชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มการเข้าถึงบริการสาธารณสุข.ให้แก่ของ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง
วิธีดำเนินการ
กิจกรรมเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ ร่วมกับทีมภาคีสุขภาพ รพ.เขาชัยสน,รพ.สต.ในพื้นที่,อสม.,เยาวชนฯ สัปดาห์ละ ๑ ครั้งๆละ ๑ ชม./คน

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการดูแลฟื้นฟูสุขภาพถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการฟื้นฟูสุขภาพฯร้อยละ 80 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมเยี่ยมฟื้นฟูผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไป กิจกรรมหลักเช่นประชุม รณรงค์ จัดบริการ 1.กิจกรรมเยี่ยมฟื้นฟูผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไป 1.1 กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพฯ 1. ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการฟื้นฟูสุขภาพฯ รวมทั้งบุคลากรสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบให้ความร่วมมือดี มีผู้เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมาย ใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานประมาณ ๓ เดือน ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพฯมีขวัญและกำลังใจ ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดุแลสุขภาพและดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๘๐ คน

จำแนกตามช่วงอายุ
อายุน้อยกว่า ๖๐ ปี จำนวน 6 คน
อายุ ๖๐-๘๙ ปี จำนวน 61 คน อายุ ๙๐ ปีขึ้นไป จำนวน 13 คน

จำแนกตามอาการ/โรค เบาหวาน      จำนวน ๒๐ คน ความดันโลหิต  จำนวน ๒๓ คน เบาหวานและความดันโลหิต จำนวน ๑๕ คน   เส้นเลือดในสมองตีบ/แตก จำนวน ๑๓ คน หอบหืด  จำนวน ๕ คน หัวใจและหลอดเลือด  จำนวน ๓ คน มะเร็งต่างๆ      จำนวน ๓ คน ไต      จำนวน ๕ คน โรคอื่นๆเช่นพิการ      จำนวน 28 คน

จำแนกตามความพิการ
                พิการเคลื่อนไหว จำนวน 18 คน
พิการสายตา จำนวน 2 คน พิการทางการได้ยิน จำนวน 3 คน พิการสมองและสติปัญญา จำนวน 2 คน พิการทางจิตเวช จำนวน 3 คน

จำแนกตามกลุ่มสูงอายุ
                ติดบ้าน จำนวน 63 คน ติดเตียง จำนวน 17 คน

จำแนกตามการช่วยเหลือ
                ให้คำแนะนำ ส่งเสริม ป้องกัน รักษาพยาบาลเบื้องต้นและฟื้นฟูสุขภาพ จำนวน  80 คน ส่งต่อด้วยรถกู้ชีพ อบต.เขาชัยสน เพื่อรับการรักษา รพ.เขาชัยสน  จำนวน ๒ คน ประสานงานนัดทำกายภาพ รพ.เขาชัยสน      จำนวน ๔ คน ประเมินความพิการ/ประสานการประเมินความพิการ      จำนวน ๙ คน ประสานเบิกกายอุปกรณ์เช่นไม้เท้า walkerฯ      จำนวน ๔ คน

จำแนกตามแบบประเมินความพึงความพอใจ คิดเป็นร้อยละ
รายการ ระดับความพึงพอใจ                                       มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1.1. รูปแบบกิจกรรมการออกเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ            ๘๐    ๒๐    0  0  0 1.2 ระยะเวลาที่ใช้ในการออกเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ            ๖๐    ๔๐    ๐  0  0 1.3 วัสดุอุปกรณ์ในการเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ                ๗๐    ๓๐    ๐
2. ความพึงพอใจด้านทีมเยี่ยมฟื้นฟูฯ 2.1 คณะทำงานมีกิริยามารยาทเรียบร้อย                ๖๐    ๔๐    0  0  0 2.2 คณะทำงานมีความสามารถในการดูแลและแก้ปัญหา    ๖๐    ๔๐
3. ความพึงพอใจด้านคุณภาพการจัดกิจกรรม 3.1 ท่านได้รับประโยชน์จากการเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ        ๙๐    ๑๐    0    0  0 3.2 ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ    ๘๐    ๑๐    ๑๐    0  0 4. โดยภาพรวมทั้งหมดท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ        80    ๑๐    ๑๐    0  0

  1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ • บรรลุตามวัตถุประสงค์
  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๓๒,๐๐๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๓๒,๐๐๐ บาท  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท  คิดเป็นร้อยละ -

  3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • มี
    ปัญหา/อุปสรรค
    เขตพื้นที่ของตำบลเขาชัยสนมีบริเวณกว้างทำให้ใช้เวลาในการเดินทางแต่ละครั้งและมีจำนวนหมู่บ้าน ๑๔ หมู่บ้าน มีกลุ่มผู้สูงอายุจำนวนมากที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ทำให้ดูแลไม่ครบทุกคน
    บุคลากรที่ดำเนินงานมีจำกัด ทำให้ล่าช้าในการดำเนินงานโครงการ การใช้จ่ายงบประมาณมีข้อจำกัด

    แนวทางการแก้ไข
    จัดตารางการออกดำเนินโครงการโดยการแบ่งเป็นรายหมู่บ้าน รายชุมชน เพื่อแก้ปัญหาด้านบุคลากรและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาศัยอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ.2537และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 67 (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรีเด็กเยาวชนผู้สูงอายุและผู้พิการซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในตำบล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุซึ่งผู้สูงอายุสามารถทำคุณประโยชน์ต่อสังคมควบคู่ไปกับลูกหลานคนรุ่นหลังและเป็นแบบอย่างการใช้ชีวิตในอนาคตอย่างมีความสุข ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อนมีความรู้มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมายจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดุแลสุขภาพผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีสุขภาพจิต สุขภาพกาย เป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุสามารถ ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสนได้ให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุมาโดยตลอดโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีโรคประจำตัวเรื้อรังทั้งในกลุ่มติดบ้านและติดเตียงและผู้สูงอายุที่มีอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างต่อเนื่ององค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการดูแลฟื้นฟูสุขภาพถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมเยี่ยมฟื้นฟูผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการฟื้นฟูสุขภาพฯ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการดูแลฟื้นฟูสุขภาพถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการฟื้นฟูสุขภาพฯร้อยละ 80
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

หลักการและเหตุผล
    อาศัยอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในตำบล เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้ป่วยเรื้อรัง,ผู้พิการ,ผู้ป่วยติดบ้าน-ติดเตียง,ผู้สูงอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป ถือเป็นบุคคลที่ขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการต่างๆของรัฐ โดยเฉพาะด้านสาธารณสุข ถ้าผู้ดูแลไม่ให้ความสำคัญ และจะทำให้คุณภาพชีวิตลดน้อยลงไปเรื่อยๆ หากไม่ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพ รวมไปถึงการพิทักษ์สิทธิ์พึงมีพึงได้ต่างๆ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน มีจำนวนผู้สูงอายุร้อยละ ๑๖ ของประชากรทั้งหมด มีจำนวนผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน ๑,๓๙๑ คน ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จำนวน ๒๔๘ คน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการจำนวน 272 คน รวม จำนวน ๑,๙๑๑ คน และมีผู้ป่วยเรื้อรังอีกจำนวนมาก ซึ่งเป็นประชากรในทุกกลุ่มวัยที่ขาดการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง   องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรังมาโดยตลอด จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในตำบลเขาชัยสน เช่น รพ.เขาชัยสน รพ.สต.ในพื้นที่ อบต.เขาชัยสน อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้มีจิตอาสาในตำบลเขาชัยสน ฯ เพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง สร้างชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มการเข้าถึงบริการสาธารณสุข.ให้แก่ของ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง
วิธีดำเนินการ
กิจกรรมเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ ร่วมกับทีมภาคีสุขภาพ รพ.เขาชัยสน,รพ.สต.ในพื้นที่,อสม.,เยาวชนฯ สัปดาห์ละ ๑ ครั้งๆละ ๑ ชม./คน

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการดูแลฟื้นฟูสุขภาพถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการฟื้นฟูสุขภาพฯร้อยละ 80 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมเยี่ยมฟื้นฟูผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไป กิจกรรมหลักเช่นประชุม รณรงค์ จัดบริการ 1.กิจกรรมเยี่ยมฟื้นฟูผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ๙๐ ปีขึ้นไป 1.1 กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพฯ 1. ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุ ๙๐ ปีขึ้นไปในตำบลเขาชัยสนได้รับการฟื้นฟูสุขภาพฯ รวมทั้งบุคลากรสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบให้ความร่วมมือดี มีผู้เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมาย ใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานประมาณ ๓ เดือน ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพฯมีขวัญและกำลังใจ ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดุแลสุขภาพและดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๘๐ คน

จำแนกตามช่วงอายุ
อายุน้อยกว่า ๖๐ ปี จำนวน 6 คน
อายุ ๖๐-๘๙ ปี จำนวน 61 คน อายุ ๙๐ ปีขึ้นไป จำนวน 13 คน

จำแนกตามอาการ/โรค เบาหวาน      จำนวน ๒๐ คน ความดันโลหิต  จำนวน ๒๓ คน เบาหวานและความดันโลหิต จำนวน ๑๕ คน   เส้นเลือดในสมองตีบ/แตก จำนวน ๑๓ คน หอบหืด  จำนวน ๕ คน หัวใจและหลอดเลือด  จำนวน ๓ คน มะเร็งต่างๆ      จำนวน ๓ คน ไต      จำนวน ๕ คน โรคอื่นๆเช่นพิการ      จำนวน 28 คน

จำแนกตามความพิการ
                พิการเคลื่อนไหว จำนวน 18 คน
พิการสายตา จำนวน 2 คน พิการทางการได้ยิน จำนวน 3 คน พิการสมองและสติปัญญา จำนวน 2 คน พิการทางจิตเวช จำนวน 3 คน

จำแนกตามกลุ่มสูงอายุ
                ติดบ้าน จำนวน 63 คน ติดเตียง จำนวน 17 คน

จำแนกตามการช่วยเหลือ
                ให้คำแนะนำ ส่งเสริม ป้องกัน รักษาพยาบาลเบื้องต้นและฟื้นฟูสุขภาพ จำนวน  80 คน ส่งต่อด้วยรถกู้ชีพ อบต.เขาชัยสน เพื่อรับการรักษา รพ.เขาชัยสน  จำนวน ๒ คน ประสานงานนัดทำกายภาพ รพ.เขาชัยสน      จำนวน ๔ คน ประเมินความพิการ/ประสานการประเมินความพิการ      จำนวน ๙ คน ประสานเบิกกายอุปกรณ์เช่นไม้เท้า walkerฯ      จำนวน ๔ คน

จำแนกตามแบบประเมินความพึงความพอใจ คิดเป็นร้อยละ
รายการ ระดับความพึงพอใจ                                       มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1.1. รูปแบบกิจกรรมการออกเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ            ๘๐    ๒๐    0  0  0 1.2 ระยะเวลาที่ใช้ในการออกเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ            ๖๐    ๔๐    ๐  0  0 1.3 วัสดุอุปกรณ์ในการเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ                ๗๐    ๓๐    ๐
2. ความพึงพอใจด้านทีมเยี่ยมฟื้นฟูฯ 2.1 คณะทำงานมีกิริยามารยาทเรียบร้อย                ๖๐    ๔๐    0  0  0 2.2 คณะทำงานมีความสามารถในการดูแลและแก้ปัญหา    ๖๐    ๔๐
3. ความพึงพอใจด้านคุณภาพการจัดกิจกรรม 3.1 ท่านได้รับประโยชน์จากการเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ        ๙๐    ๑๐    0    0  0 3.2 ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากเยี่ยมฟื้นฟูสุขภาพ    ๘๐    ๑๐    ๑๐    0  0 4. โดยภาพรวมทั้งหมดท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ        80    ๑๐    ๑๐    0  0

  1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ • บรรลุตามวัตถุประสงค์
  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๓๒,๐๐๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๓๒,๐๐๐ บาท  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท  คิดเป็นร้อยละ -

  3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • มี
    ปัญหา/อุปสรรค
    เขตพื้นที่ของตำบลเขาชัยสนมีบริเวณกว้างทำให้ใช้เวลาในการเดินทางแต่ละครั้งและมีจำนวนหมู่บ้าน ๑๔ หมู่บ้าน มีกลุ่มผู้สูงอายุจำนวนมากที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ทำให้ดูแลไม่ครบทุกคน
    บุคลากรที่ดำเนินงานมีจำกัด ทำให้ล่าช้าในการดำเนินงานโครงการ การใช้จ่ายงบประมาณมีข้อจำกัด

    แนวทางการแก้ไข
    จัดตารางการออกดำเนินโครงการโดยการแบ่งเป็นรายหมู่บ้าน รายชุมชน เพื่อแก้ปัญหาด้านบุคลากรและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ๒

รหัสโครงการ 2561-L3310-1-12 ระยะเวลาโครงการ 18 พฤษภาคม 2561 - 28 ธันวาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต ๒ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L3310-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดลอาซีด เพ็งโอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด