กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจกำจัดภัยโรคเรื้อน ประจำปีงบประมาณ 2561
รหัสโครงการ 61-L3049-2-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลสาบัน
วันที่อนุมัติ 19 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2561 - 30 มิถุนายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 9,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซาร์วาตุลอาห์ลัม สุหลง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,101.439place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเรื้อนเป็นที่ติดต่อเรื้อรัง ที่เกิดขึ้นจากเชื้อแบคทีเรีย ทำให้ปรากฎอาการที่ผิวหนังและเส้นประสาทส่วนปลาย การดำเนินของโรคเป็นไปอย่างช้าๆเมื่อเส้นประสาทถูกทำลายทำให้เกิดความพิการที่ตา มือ และเท้าได้ จากที่องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดให้ความชุกของโรคเรื้อนที่ไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขต้องไม่ต่ำกว่า 1 หมื่นประชากร ประเทศไทยได้ดำเนินโครงการป้องกันควบคุมโรคเรื้อนได้สำเร็จ จนไม่เป็นปัญหาในระดับประเทศ แต่จากข้อมูลปี 2555-2559 พบว่า จังหวัดปัตตานี ยังมีอัตราความชุกมากกว่า 1 ต่อหมื่นประชากร และพบว่า มีผู้ป่วยโรคเรื้อนในเกือบทุกอำเภอ ในปี 2558อำเภอยะหริ่งพบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0. 68 ต่อหมื่นประชากร และในปี 2559 พบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ จำนวน 4 ราย เป็นอัตราป่วย 0.26 ต่อหมื่นประชากร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเร่งค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่เชิงรุกในชุมชนพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ใกล้เคียง 2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนที่เป้นต้นเหตุของการแพร่เชื้อในชุมชน 3.เพื่อตรวจคัดกรองโรคเรื้อนในผู้สัมผัสโรคใกล้ชิดและได้รับการรักษาก่อนปรากฏความพิการ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องโรคเรื้อน การป้องกันโรคแก่อาสามัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย จำนวน 70 คน 2.ค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในชุมชนพื้นที่เป้าหมาย โดยการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุข 3.ติดตามตรวจร่างกายผู้สัมผัสร่วมบ้านของผู้ป่วยโรคเรื้อนในระยะเฝ้าระวัง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้รับผิดชอบงานโรคเรื้อนและอาสาสมัครสาธารณสุขมีศักยภาพและประสิทธิภาพของการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน 2.เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในชุมชน 3.ประชาชนมีความรู้โรคเรื้อนที่ถูกต้อง สามารถเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคเรื้อน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2561 11:33 น.