กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ


“ โครงการสานรักของแม่เพื่อลูกน้อย ประจำปี 2561 ”

ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมัคร แวเด็ง

ชื่อโครงการ โครงการสานรักของแม่เพื่อลูกน้อย ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3061-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม 2561 ถึง 14 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานรักของแม่เพื่อลูกน้อย ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานรักของแม่เพื่อลูกน้อย ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสานรักของแม่เพื่อลูกน้อย ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3061-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กรกฎาคม 2561 - 14 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นปํญหาสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดปัตตานี ที่ต้องได้รับการแก้ไข้ เพราะในปัจจุบันระบบสุขภาพของคนไทยมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตามลำดับ ตามแผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ที่ผ่านมา รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมสุขภาพ เน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าซ่อมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็กและการนำเอาครอบครัวมามีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ เป็นเป้าหมายสำคัญประการหนึ่งในแผนงานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด คือ การเข้าถึงสถานบริการและการมีสุขภาพที่ดีของพ่อแม่และลูก ซึ่งมีตัวชี้วัดที่สำคัญ คือ หญิงตั้งครรภ์ได้รับฝากครรภ์ ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 อัตราการคลอดในโรงบาล ร้อยละ 92 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้ง ร้อยละ 90 และเนื่องจากงานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานเชื่อมโยงกับงานอื่นๆ ถ้าหากหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตัวเอง เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ต้องมาฝากครรภ์ทันทีก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยง การตำตรวจชันสูตรโรค การฉีดวัคซีนส้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ และคลอดในสถานบริการ ทำให้สามารถถลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆในระหว่างตั้งครรภ์และการคลอด ทำให้แม่และลูกคลอดอย่างปลอดภัยและยังทำให้การพัฒนางานสาธารณสุขด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องมีคุณภาพมากยิ่งขึ้นด้วย เช่น งานสร้างเสริมภูมิคคุ้มกันโรค งานโภชนาการและพัฒนาการ งานทันตสาธารณสุข(ในเด็กอายุ 0-5 ปี)และ งานวางแผนครอบครัว สำหรับการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะ ปีงบประมาณ 2558 มีผลการดำเนินงานตามรายละเอียดดังนี้ คือ หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 88.57 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 11.43 หญิงตั้งครรภ์คคลอดในโรงพยาบาล ร้ยละ 90.63 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 93.10 จากการวิเคราะข้อมูลดังกล่าว พบว่าตัวชี้วัดที่ยังเป็นปัญหา คือ หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง หญิงตั้งครรภ์คลอดในโรงพยาบาล ทารกแรกคลอดน้ำหนักต่ำกวา 2,500 กรัม ทั้งนี้มีสาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายประการทั้งด้านระบบการบรการ เช่น การไม่ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว เช่น ครอบครัวฐานะยากจน ต้องไปทำงานต่างจังหวัดต่างประเทศครอบครัวมีลูกหลายคนติดๆกัน ความเชื่อ ทัศนะคติ และปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่สำคัญ เช่น การทีมีผดุงครรภ์โบราณเป็นคนในพื้นที่ ปฎิบัติงานมาช้านาน ทำให้เป็นที่ยอมรับและไว้ใจของประชาชนในพื้นที่ ระยะทางในการดินทางไปสถานบริการและการณ์สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดควมกลัวไม่กล้าที่จะไปคลอดโรงพยาบาล ถ้าหากต้องคลอดในเวลากลางคืน ด้วยสาเหตุปัจจัยดังกล่าวทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเก่ะเปาะ ได้จัดทำโครงการขึ้นเพ่อแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กของตำบลเกาะเปาะ ให้บรรลุตามเกณฑ์ตัวชี้วัดและส่งผลให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายของตำบลเกาะเปาะ มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อรณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชนมาฝากครรภ์ก่อนครรภ์ 12 สัปดาห์ 2.เพื่อให้คู่ชาย-หญิงวัยเจริญพันธ์ุทุกรายให้มีความรู้ในการเตรียมพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ให้มีความมรู้และทักษะในการดูแลตนเองตลอดการตั้งครรภ์และหลังคลอดได้ 4.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มัทัศนะคติที่ดีต่อการคลอดที่โรงพยาบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ใหม่
  2. ตรวจเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 340
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80
  2. คู่ชาย-หญิงสมรสวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ในการเตรียมพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ ร้อยละ 100 3.หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้และทักษะในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และบุตรตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด และหลังคลอดได้ถูกต้อง ร้อยละ 80 4.หญิงตั้งครรภ์ได้คลอดโรงพยาบาล ร้อยละ 100 5.หญิงหลังคลอดได้รัการตรวจหลังคลอด ร้อยละ 100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ใหม่

วันที่ 12 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์

 

130 0

2. ตรวจเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงหลังคลอด

วันที่ 13 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงหลังคลอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงหลังคลอดได้รับการตรวจหลังคลอด ร้อยละ 100

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อรณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชนมาฝากครรภ์ก่อนครรภ์ 12 สัปดาห์ 2.เพื่อให้คู่ชาย-หญิงวัยเจริญพันธ์ุทุกรายให้มีความรู้ในการเตรียมพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ให้มีความมรู้และทักษะในการดูแลตนเองตลอดการตั้งครรภ์และหลังคลอดได้ 4.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มัทัศนะคติที่ดีต่อการคลอดที่โรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 2.หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60 3.ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 6 4.คลอดที่สถานบริการพยาบาล ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 340
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชนมาฝากครรภ์ก่อนครรภ์ 12 สัปดาห์ 2.เพื่อให้คู่ชาย-หญิงวัยเจริญพันธ์ุทุกรายให้มีความรู้ในการเตรียมพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ให้มีความมรู้และทักษะในการดูแลตนเองตลอดการตั้งครรภ์และหลังคลอดได้ 4.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มัทัศนะคติที่ดีต่อการคลอดที่โรงพยาบาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ใหม่ (2) ตรวจเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และประชุมชี้แจงให้ความรู้หญิงหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสานรักของแม่เพื่อลูกน้อย ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3061-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมัคร แวเด็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด