กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจการออกกำลังกายและสิ่งแวดล้อม เป็นโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนผู้ปกครอง ครูและผู้ประกอบการร้านค้าในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและลดการบริโภคสารพิษเข้าสู่ร่างกาย โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบการร้านค้าในชุมชน จำนวนทั้งหมด 150 คน ซึ่งได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษและนักเรียนก้ได้ลงมือปฏิบัติในการปลูกผักรับประทานเองด้วย อีกทั้งเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการออกกำลังกายร่วมกันระหว่างนักเรียน คณะครู ผู้ปกครอง และคนในชุมชน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียน คณะครู ผู้ปกครองนักเรียนและคนในชุมชน จำนวน 150 คน มาร่วมเดิน วิ่ง ปั่น ออกกำลังกายด้วยกันในทุกเย็นวันอังคาร และสุดท้ายเพื่อให้นักเรียนและคณะครูมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลดขยะ คัดแยกขยะและการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียน ครู จำนวน 111 คน ซึ่งได้เชิญวิทยากร มาให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอย และประดิษฐ์สิ่งของจากเศษวัสดุเหลือใช้ ในการนี้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก ในการอนุเคราะห์วิทยากรเพื่อมาให้ความรู้แก่นักเรียนในกิจกรรมต่างๆ ดังที่กล่าวมา ซึ่งงบประมาณในการดำเนินโครงการ ได้รับการจัดสรรจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 48,615 บาท โดยแบ่งเป็นกิจกรรมย่อย ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ งบประมาณ 15,285 บาท กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ งบประมาณ 10,280 บาท กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม เดิน วิ่ง ปั่น ออกกำลังกาย งบประมาณ 7,500 บาท และกิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การลดขยะ คัดแยกขยะและการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ งบประมาณ 14,550 บาท

ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ ประเมินจากผลการทดสอบความรู้ ก่อนการอบรม และหลังการอบรม ของนักเรียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ การปลูกผักปลอดสารพิษและคัดแยกขยะ พบว่า นักเรียนมีความรู้หลังการอบรมมากกว่าก่อนเข้ารับการอบรม ดังนี้ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ นักเรียนมีความรู้ก่อนอบรม ร้อยละ 53.20 เมื่อทดสอบด้วยข้อสอบชุดเดิมหลังการอบรม นักเรียนมีความรู้ร้อยละ 81.16 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะและการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ นักเรียนมีความรู้ก่อนการอบรม ร้อยละ 62.18 เมื่อทดสอบด้วยข้อสอบชุดเดิมหลังการอบรม นักเรียนมีความรู้ร้อยละ 85.73 และกิจกรรมเดิน วิ่ง ปั่น ออกกำลังกาย จากการสังเกตการณ์เข้าร่วมกิจจกรรม พบว่า นักเรียน คณะครู ร้อยละ 98 มีความสนใจ กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี

ในด้านปัญหาและอุปสรรค พบว่า ในการดำเนินการต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา 2561 พบว่า ในกิจกรรมการเดิน วิ่ง ปั่น ออกกำลังกาย ความร่วมมือจากผู้ปกครองและคนในชุมชนยังมีสัดส่วนที่น้อย เนื่องด้วยภาระงานของคนในชุมชน จึงไม่สะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวเท่าที่ควร

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

ในส่วนที่ 2 กิจกรรมทางกาย เดิน วิ่ง ปั่น ออกกำลังกาย ผู้ปกครองนักเรียนหรือคนในชุมชนให้ความร่วมมือในกิจกรรมค่อนข้างน้อย เนื่องด้วยภาระหน้าที่การงานของแต่ละครที่จะต้องทำ ซึ่งในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม และในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายนที่ผ่านมา ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่จะต้องเตรียมไร่นาของตัวเองในการเพาะปลูก จึงไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ จึงมีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่มาร่วมกิจกรรมกับทางโรงเรียน ทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จในการสร้างความสนใจ ความตื่นตัวในการออกกำลังกายในแก่คนในชุมชนมากเท่าที่ควร

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ