กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ


“ โครงการบ้านสะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก ตำบลตะลุโบะ ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายหวันมูฮำมัดรุสดี เจะอาแว

ชื่อโครงการ โครงการบ้านสะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก ตำบลตะลุโบะ ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3011-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านสะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก ตำบลตะลุโบะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านสะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก ตำบลตะลุโบะ ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านสะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก ตำบลตะลุโบะ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3011-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดี เป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต หากประชาชนมีสุขภาพดีย่อมส่งผลให้มีความเจริญมั่นคง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจการปกครองการที่ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจึงมีความสำคัญและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาในด้านต่างๆความเจ็บป่วยของประชาชนด้วยโรคติดต่อที่สำคัญและเป็นปัญหาในพื้นที่ได้แก่ โรคไข้เลือดออก และโรคระบบทางเดินหายใจ เช่นวัณโรค เป็นต้น การจัดสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลที่ถูกต้องสะอาดถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนสามารถทำได้ ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าว ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ.๒๕๖๐ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม ๘๕๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๑๒๓.๓๑ ต่อแสนประชากร พบผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย ๐.๑๒ ต่อแสนประชากรส่วนในปี พ.ศ.๒๕๕๙ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม ๑,๙๗๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๒๘๕.๗๕ ต่อแสนประชากร พบผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย ๐.๑๔ ต่อแสนประชากร และในปี ๒๕๕๘ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม๕๕๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๘๐.๓๐ต่อแสนประชากร พบผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย ๐.๑๕ต่อแสนประชากร(สำนักงานระบาดวิทยา, ๒๕๖๐)ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นในปี ๒๕๕๙ และลดลงในปี ๒๕๖๐ แต่ยังคงมีประชาชนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
อำเภอเมืองปัตตานี เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่องโดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนในปี ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ เท่ากับ ๑๒๙.๔๑ ๑๘๙.๗๑ และ 109.82 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับมีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ในปี ๒๕๖๐ คิดเป็นอัตราป่วยตาย0.80 ต่อประชากรแสนคน และในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ ในปี ๒๕๕๘ พบผู้ป่วยจำนวน ๔ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๔๙.๙๕ต่อแสนประชากรในปี ๒๕๕๙ พบผู้ป่วยจำนวน๒๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๒๖๒.๒๔ ต่อแสนประชากร และในปี ๒๕๖๐พบผู้ป่วยจำนวน๖ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 76.79 ต่อแสนประชากร จะเห็นได้ว่า การระบาดของโรคไข้เลือดออกนั้น จะมีแนวโน้มการระบาดที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน ในปี ๒๕๕๙ และลดลงในปี ๒๕๖๐ ถึงแม้ว่าในปี ๒๕๖๐ ผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง แต่ในพื้นที่ตำบลตะลุโบะยังคงมีผู้ป่วยเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการรณรงค์ป้องกัน และการทำงานในเชิงรุกที่ดี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการบ้านสะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก ตำบลตะลุโบะ ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้าน/ชุมชนมีความสะอาดแล้วโรคติดต่อต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้เป็นอย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ส่งผลให้มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน,อสม.ประชาชนในหมู่บ้าน,เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน
  2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการทำความสะอาด ตามหลัก ๕ ส.และวิธีการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ให้กับประชาชนทั่วไป และ อสม.
  3. ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ ที่พักอาศัย (บ้านเรือน) ให้ถูกสุขลักษณะ และปรับปรุงภูมิทัศน์ในหมู่บ้านให้สวยงามอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์โดยประชาชน, อสม. , ผู้นำชุมชน
  4. มอบป้ายแก่หลังคาเรือนที่ผ่านเกณฑ์ เป็นบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ายุงลาย หมู่บ้านละ ๓ หลังคาเรือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 116
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีความรู้ มีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ๒. บ้านเรือนที่อยู่อาศัย และชุมชนหมู่บ้านสะอาด น่าอยู่ ลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ
๓.โรคติดต่อในชุมชน หมู่บ้าน ลดลง ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 116
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน,อสม.ประชาชนในหมู่บ้าน,เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการทำความสะอาด ตามหลัก ๕ ส.และวิธีการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ให้กับประชาชนทั่วไป และ อสม. (3) ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ ที่พักอาศัย (บ้านเรือน) ให้ถูกสุขลักษณะ และปรับปรุงภูมิทัศน์ในหมู่บ้านให้สวยงามอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์โดยประชาชน, อสม. , ผู้นำชุมชน (4) มอบป้ายแก่หลังคาเรือนที่ผ่านเกณฑ์ เป็นบ้านตัวอย่างปลอดลูกน้ายุงลาย หมู่บ้านละ ๓ หลังคาเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านสะอาด ปราศจากโรคไข้เลือดออก ตำบลตะลุโบะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3011-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายหวันมูฮำมัดรุสดี เจะอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด