กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายจีรศักดิ์ อัตถเจริญสุข

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L8421-01-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L8421-01-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นแมลงนำโรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน พบได้ทุกกลุ่มอายุ แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มอายุ เด็ก 5 – 14 ปี การระบาดของโรคจะเกิดในช่วงฤดูฝน โดยธรรมชาติของการเกิดโรคจะมีลักษณะการระบาดปีเว้นปี หรือปีเว้นสองปีหรือระบาดติดต่อกัน 2 ปีเว้น  1 ปี กรมควบคุมโรคได้เตรียมความพร้อมรับการระบาดโดยได้กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรการในการควบคุมโรค ระยะแรกมีการประชุมปฏิบัติการโรคไข้เลือดออกยุงลายเป็นตัวพาหะนำโรค เพื่อเร่งรัดการเฝ้าระวังโรคสกัดกั้นการแพร่ระบาด การป้องกันและควบคุมโรค การดูแลผู้ป่วย การเผยแพร่ความรู้ส่งเสริมบทบาทการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อให้ประชาชนมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น สามารถรับมือกับโรคไข้ไข้เลือดออก ที่ยุงลายเป็นตัวพาหะนำโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งผลการดำเนินงานจะช่วยลดโรคไข้เลือดออกด้วย สำหรับการป้องกันควบคุมโรค ที่สำคัญคือ ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด และสามารถป้องกันการติดเชื้อ และลดการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาโต๊ะ และคณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลดาโต๊ะ เป็นองค์กรหลักที่ต้องรับผิดชอบต่อปัญหาดังกล่าวเพื่อเป็นการลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตลอดจน อสม. และประชาชน ในชุมชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ อสม.และประชาชนมีความรู้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่มียุงลายเป็นตัวพาหะนำโรค และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายชนิดต่างๆ
  2. 2. เพื่อเป็นการทำลายตัวแก่ และตัวเต็มวัยของยุงลาย โดยการพ่นหมอกควัน
  3. 3. เพื่อให้ อสม. สำรวจลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบ เพื่อหาค่า HI, CI

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และจัดประชุมชี้แจงให้ความรู้
  2. ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้ อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และประชาชนทั่วไปมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  2. เพื่อเป็นการลดจำนวนยุงตัวแก่ หรือยุงตัวเต็มวัย จะทำให้วงจรการระบาดของโรคลดลง โดยการพ่นหมอกควัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และจัดประชุมชี้แจงให้ความรู้

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้ เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และประชาชนทั่วไป ได้รับความรุ้และเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก สามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

 

55 0

2. ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.อสม.ลงพื้นที่สำรวจลูกน้ำยุงลายและแจกทรายอะเบท ตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบทุกๆเดือน เพื่อตรวจหาค่า HI CI และรายงานผล 2.พ่นหมอกควันในชุมชนต่างๆ เขตพื้นที่ตำบลดาโตีะ ตามแผน SRRT การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 3.ติดตามและประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และประชาชนทั่วไปมีความรุ้และเกิดความตระหนักในการป้องกันไข้เลือดออก 2.สามารถลดจำนวนยุงตัวแก่ และทำลายแหล่งกำเนิดยุงลาย

 

4 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ อสม.และประชาชนมีความรู้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่มียุงลายเป็นตัวพาหะนำโรค และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายชนิดต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอาสาสมัครสาธารณสุข ต้องผ่านการฝึกอบรมควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 2. เพื่อเป็นการทำลายตัวแก่ และตัวเต็มวัยของยุงลาย โดยการพ่นหมอกควัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนาต้องมีการเรียนรู้เรื่องควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
0.00

 

3 3. เพื่อให้ อสม. สำรวจลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบ เพื่อหาค่า HI, CI
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอสม. สำรวจลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบ เพื่อหาค่า HI, CI
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ อสม.และประชาชนมีความรู้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่มียุงลายเป็นตัวพาหะนำโรค และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายชนิดต่างๆ (2) 2. เพื่อเป็นการทำลายตัวแก่ และตัวเต็มวัยของยุงลาย โดยการพ่นหมอกควัน (3) 3. เพื่อให้ อสม. สำรวจลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบ เพื่อหาค่า HI, CI

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์  และจัดประชุมชี้แจงให้ความรู้ (2) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L8421-01-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจีรศักดิ์ อัตถเจริญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด