กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเตราะบอน


“ โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2561 ”

ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรชร เฮ่าบุญ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3054-2-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2561 ถึง 8 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเตราะบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3054-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2561 - 8 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเตราะบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือคุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการในปัจจุบันมีการจัดตั้งร้านอาหารและแผงลอย จำหน่ายอาหารไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแก่ประชาชน สะดวกต่อการเลือกซื้อมาเพื่อการบริโภคทั้งในครัวเรือน ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้ ปัจจุบันการบริโภคอาหารของประชาชนมีความเสี่ยงจากการปนเปื้อนในอาหาร ทั้งจากสารพิษตกค้าง เชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมต่างๆ รวมทั้งจากสภาพปัญหาการสุขาภิบาล การขาดจิตสำนึกด้านสุขอนามัย ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภคทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ร้านอาหารและแผงลอยถือเป็นแหล่งบริโภคที่สำคัญ จำเป็นต้องปรับปรุงให้ได้มาตรฐานทั้งด้านสุขาภิบาล คุณภาพอาหาร และความปลอดภัยให้ปราศจากสารปนเปื้อนที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและถูกสุขลักษณะ
ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินโครงการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามวัตถุประสงค์จึงอาศัยอำนาจตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2557ตามเอกสารแนบท้ายประกาศ ข้อ 7.2.6 การส่งเสริมการพัฒนาร้านขายของชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนเรื่องอาหารและและความปลอดภัยในการบริโภค และตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552 มาตรา 50 (4) ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล เทศบาล ตำบลเตราะบอนได้ตระหนักถึงคุณภาพอาหารและความปลอดภัยในอาหาร จึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2561 เทศบาลตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานีขึ้น เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพอาหารให้ได้มาตรฐานทั้งด้านสุขาภิบาล คุณภาพอาหารและความปลอดภัยในอาหาร โดยมุ่งหวังให้ผู้ประกอบการได้มีความรู้ ความเข้าใจด้านการสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหาร ที่ถูกสุขลักษณะ สะอาด และปลอดภัย ทำให้ลดการเกิดโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง-ประกอบอาหารได้ถูกต้อง
  2. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร
  3. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารหรือแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ตำบลเตราะบอนและรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้สัมผัสอาหารพร้อมทั้งรณรงค์ลดละเลิกใช้โฟม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง-ประกอบอาหารได้ถูกต้อง
  2. สามารถเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร
  3. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารหรือแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ตำบลเตราะบอนและรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้สัมผัสอาหารพร้อมทั้งรณรงค์ลดละเลิกใช้โฟม

วันที่ 4 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารหรือแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ตำบลเตราะบอน
  • รณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้สัมผัสอาหาร ณ สถานที่จำหน่ายอาหาร โดยการแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์
  • รณรงค์ประชาสัมพันธ์การลดละเลิกการใช้ภาชนะโฟม(No Foam)บรรจุอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง-ประกอบอาหารได้ถูกต้อง
  2. สามารถเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร
  3. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง-ประกอบอาหารได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง-ประกอบอาหารได้ถูกต้อง
70.00

 

2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร
ตัวชี้วัด : สามารถเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร
80.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง-ประกอบอาหารได้ถูกต้อง (2) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร (3) เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารหรือแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ตำบลเตราะบอนและรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้สัมผัสอาหารพร้อมทั้งรณรงค์ลดละเลิกใช้โฟม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3054-2-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรชร เฮ่าบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด