กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม


“ โครงการ ผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค ”

ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

ชื่อโครงการ โครงการ ผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2503-1-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2561

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2561 ถึง 11 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2503-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2561 - 11 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากวัยสูงอายุเป็นวัยที่มีความแตกต่างไปจากวัยอื่น รวมทั้งปัญหาในสุขภาพที่แตกต่างกันร่างกานมีการถกถอยและเสื่อมลง เป็นผลทำให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆเบียดเบียน สิ่งสำคัญคือ การได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างซึ่งมีผลต่อสุขภาพกายและใจ จากการสำรวจผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลเฉลิมในปีงบประมาณ 2560 พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด1,047 คน ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพกาย เช่น การเจ็บป่วยโรคไม่ติดต่อ อุบัติเหตุ โรคข้อเสื่อม เป็นความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคสมองและโรคหลอดเลือด ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญได้แก่ การออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ ส่งผลให้ร่างกายเจ็บป่วยง่าย การเจ็บป่วยด้านสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ มีความเศร้า กังวลใจ น้อยใจ เสียใจ และการอยู่ร่วมกัในสังคมของผู้สูงอายุ บุตรหลานมักปล่อยให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างโดดเดี่ยวขาดการยอมรับและความเชื่อถือในสังคม เพื่อให้การดำเนินการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและเกิดความร่วมใจกัน ชมรมอาสาสมัครโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเฉลิม จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรคประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น ภายในงานจัดให้มีการประชุมสมาชิกผู้สูงอายุ เพื่อกำหนดแนวทางในการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ โดยการศึกษาถึงสภาพปัญหาและความต้องการ มีการรับสมัครเข้าเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ มีการอบรมบรรยายในด้านการดำรงชีวิตโดยวิถีอิสลามและส่งเสริมวัฒธรรม ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหาร ส่งเสริมการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ โดยแนะนำให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย ซึ่งจะให้เกิดประโยชน์ต่อผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและได้พบปะระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ สามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ถูกต้อง ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บรรยายเรื่อง "การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค"
  2. บรรยายให้ความรู้เรื่อง "รอมฏอนกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยตามหลักอิสลาม"
  3. ตอบปัญหาและข้อซักถาม
  4. บรรยายเรื่อง "ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ"
  5. บรรยายเรื่อง "หลักการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุตามวิถีแห่งอิสลาม"

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,000
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และได้พบปะระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน
  2. ผู้สูงอายุได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์
  3. ผู้สูงอายุแลผู้ดูและผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ถูกต้อง
  4. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่า่งต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บรรยายเรื่อง "การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค"

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561
08.00-08.30 น. ลงมะเบียน 08.30-09.00 น. พิธีเปิดโครงการ โดยประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเฉลิม (นายอับดุลมานะ  บือราเฮง) 09.00-12.00 น. บรรยายเรื่อง การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค โดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเฉลิม (นายมะหะมะ  เจ๊ะโด) 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-17.00 น. บรรยายเรื่อง รอมฏอนกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยตามหลักอิสลาม โดยโต๊ะครู อิดสมาน  สิเดะ 17.00-17.30 น. ตอบปัญหารและข้อซักถาม วันที่ 11 พฤษภาคม 2561 09.00-12.00 น. บรรยายเรื่อง ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดปัญหารด้านสุขภาพการและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ โดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป (นายอาติฟ  หะยีอีแต) 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-17.00 น. บรรยายเรื่อง หลักการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุตามวิถีแห่งอิสลามและการส่งเสริมวัฒนธรรมอิสลาม โดยโต๊ะครู ซำซียะห์  มะและเด็ง 17.00-17.30 น. ตอบปัญหาข้อซักถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตามหลักวิชาการสาธารณสุขและตามหลักอิสลาม และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี

 

1,000 0

2. บรรยายให้ความรู้เรื่อง "รอมฏอนกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยตามหลักอิสลาม"

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561
13.00-17.00 น. บรรยายเรื่อง รอมฏอนกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยตามหลักอิสลาม โดยโต๊ะครู อิดสมัน  สิเดะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าในในการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะในเดือนรอมฏอนตามหลักอิสลาม

 

0 0

3. ตอบปัญหาและข้อซักถาม

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2561 17.00-17.30 น. ตอบปัญหาข้อซักถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้ซักถามด้านสุขภาพเกี่ยวปัญหาต่างๆ ทีไม่เข้าใจในการปฏิบัติตน ทำให้ผู้สูงอายุได้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

 

0 0

4. บรรยายเรื่อง "ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ"

วันที่ 11 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2561
09.00-12.00 น. บรรยายเรื่อง ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ โดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซีโป (นายอาติฟ  หะยีอีแต)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการบรรยายเรื่อง ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้และความเข้าใจถึงปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพทั้งกายและจิตใจ และสามรถหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆได้

 

0 0

5. บรรยายเรื่อง "หลักการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุตามวิถีแห่งอิสลาม"

วันที่ 11 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2561 13.00-17.00 น. บรรยายเรื่อง หลักการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุตามวิถีแห่งอิสลามและการส่งเสริมวัฒนธรรมอิสลาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หลังจากการบรรยายเรื่อง หลักการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุตามวิถีแห่งอิลามและการส่งเสริมวัฒนธรรมอิสลาม ทำให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้และเกิดความเข้าใจเรื่องหลักการดำเนินชีวิตตามวิถีแห่งอิสลามและสามรถดำเนินชีวิตประจำวันได้ตามหลักการดำเนินชีวิตตามวิถีอิสลาม และสามารถส่งเสริมวัฒนธรรมอิสลามอันดีงามของอิสลาม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและได้พบปะระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ สามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ถูกต้อง ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง - ผู้สูงอายุได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณื - ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ถูกต้อง - ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างต่เนื่อง
1000.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,000
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและได้พบปะระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ สามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ถูกต้อง ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายเรื่อง "การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค" (2) บรรยายให้ความรู้เรื่อง "รอมฏอนกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยตามหลักอิสลาม" (3) ตอบปัญหาและข้อซักถาม (4) บรรยายเรื่อง "ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ" (5) บรรยายเรื่อง "หลักการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุตามวิถีแห่งอิสลาม"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ ผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค

รหัสโครงการ 61-L2503-1-03 รหัสสัญญา 3/2561 ระยะเวลาโครงการ 10 พฤษภาคม 2561 - 11 พฤษภาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ ผู้สูงวัย สุขภาพดี ห่างไกลโรค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2503-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด