กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมชุมชนควบคุมโรคติดต่ออย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน เทศบาลตำบลกำแพง ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประกาศิตเพชรกาฬ

ชื่อโครงการ พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมชุมชนควบคุมโรคติดต่ออย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน เทศบาลตำบลกำแพง

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมชุมชนควบคุมโรคติดต่ออย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน เทศบาลตำบลกำแพง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมชุมชนควบคุมโรคติดต่ออย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน เทศบาลตำบลกำแพง



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมชุมชนควบคุมโรคติดต่ออย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน เทศบาลตำบลกำแพง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2561-L5309-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปีพ.ศ. 2560 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 สํานักระบาดวิทยา ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2560) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (Dengue fever : DF, Dengue haemorrhagic fever : DHF, Dengue shock syndrome : DSS) สะสมรวม 48,896 ราย อัตราป่วย 74.73 ต่อประชากรแสนคน มีการรายงานจํานวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 16.49 (0.83 เท่า) เมื่อเทียบกับปีพ.ศ. 2559 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ผู้ป่วยเสียชีวิต 59 ราย อัตราป่วยตายเท่ากับ ร้อยละ 0.12 ผู้ป่วยเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา 1,049 ราย การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 10-14 ปี มีอัตราป่วยสูงสุด คือ 225.67 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่กลุ่มอายุ 5-9 ปี (159.02), อายุ 15-24 ปี (130.82) อายุ 25-34 ปี (75.67) และอายุ 0-4 ปี (75.27) ตามลําดับ สัดส่วนอาชีพที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน ร้อยละ 42.60 รองลงมาได้แก่ รับจ้าง (ร้อยละ 20.38) การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกรายภาค พบว่าภาคใต้มีอัตราป่วยสูงที่สุดเท่ากับ 129.80 ต่อประชากรแสนคน จํานวนผู้ป่วย 12,006 ราย และสถานการณ์ของจังหวัดสตูล ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2560 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมด 66 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 21.07 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 3.03 มีการระบาดทุกอำเภอ และอำเภอละงูก็มีการระบาดอย่างต่อเนื่องโดยมีอัตราป่วย 11.31 ต่อประชากรแสนคน ในพื้นที่เทศบาลตำบลกำแพงมีผู้ป่วยจำนวน 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 97.5 ต่อประชากรแสนคนและมีค่าดัชนีลูกน้ำที่สูงอยู่ทุกชุมชน
ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าว พื้นที่เทศบาลตำบลกำแพงมีแนวโน้มเสี่ยงที่จะมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกขึ้น ซึงเมื่อเริ่มเข้าฤดูฝนคาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น เนื่องจากฝนตกมากทำให้ไปเพิ่มจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตามธรรมชาติและภาชนะกักเก็บน้ำที่ปิดไม่มิดชิด ประกอบด้วยการประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลความรู้ความเข้าใจยังไม่ทั่วถึงและความล่าช้าในการควบคุมป้องกันโรคก็เป็นปัจจัยที่ทำให้การระบาดของโรคไข้เลือดออกการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมยากขึ้น ทางศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลกำแพง เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดโครงการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมชุมชนควบคุมโรคติดต่ออย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน เทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล ขึ้นเพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลกำแพง มีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีกระบวนการมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกเฝ้าระวังควบคุมโรคไข้เลือดออก ในทุกชุมชน เพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมการระบาดและมีแผนกระบานการการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกวิธีเหมาะสมและทันเวลา และเกิดการต่อยอดความรู้คิดค้นนวัตกรรมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ทั้งนี้เพื่อลดจำนวนอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาศักยภาพของการดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อในชุมชนในเขตเทศบาลตำบลกำแพง
  2. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลาโดยการดำเนินงานของทีมเคลื่อนที่เร็วในชุมชนเอง
  3. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องควบคุมโรคติดต่อในชุมชนและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรคทั้ง 8 ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ผลการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อและอบรมพัฒนาศักยภาพทีมเคลื่อนที่เร็วควบคุมโรคติดต่อ
  2. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องควบคุมโรคติดต่อในชุมชนและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรคและให้ความรู้พร้อมสาธิตการทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นป้องกันยุงลาย
  3. สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถลดการระบาดของโรคติดต่อในชุมชนโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อในชุมชนอย่างยั่งยืน 2.ชุมชนสามารถจัดทำแผนการเฝ้าระวังและวิธีดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อในชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของชุมชน 3. ชุมชนมีการรณรงค์และสื่อประชาสัมพันธ์ที่สามารถสร้างความตระหนักและได้รับความรู้เข้าใจในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลตำบลกำแพง
4.ประชาชนมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ผลการดำเนินงานควบคุมติดต่อซึ่งกันและกันในพื้นที่เทศบาลตำบลกำแพง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาศักยภาพของการดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อในชุมชนในเขตเทศบาลตำบลกำแพง
ตัวชี้วัด : 1. การมีเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ผลการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อและมีการนำเสนอผลงานวิชาการของประชาชนในพื้นทีเทศบาลตำบลกำแพง อย่างน้อย ๑ ครั้ง 2.ทีมเคลื่อนที่เร็วควบคุมโรคติดต่อมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกระบวนการควบคุมโรคติดต่อในชุมชนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลาโดยการดำเนินงานของทีมเคลื่อนที่เร็วในชุมชนเอง
ตัวชี้วัด : การปฏิบัติงานของทีมเคลื่อนที่เร็วทุกชุมชนมีการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ทันต่อเวลาและมีความพร้อมในการปฏิบัติงานและตอบสนองความต้องการของชุมชน
0.00

 

3 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องควบคุมโรคติดต่อในชุมชนและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรคทั้ง 8 ชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในพื้นที่ตำบลกำแพงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 2. ทุกชุมชนในเขตเทศบาลตำบลกำแพง มีสื่อประชาสัมพันธ์โรคติดต่อในพื้นที่ทุกชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาศักยภาพของการดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อในชุมชนในเขตเทศบาลตำบลกำแพง (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลาโดยการดำเนินงานของทีมเคลื่อนที่เร็วในชุมชนเอง (3) การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องควบคุมโรคติดต่อในชุมชนและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรคทั้ง 8 ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ผลการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อและอบรมพัฒนาศักยภาพทีมเคลื่อนที่เร็วควบคุมโรคติดต่อ  (2) การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องควบคุมโรคติดต่อในชุมชนและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรคและให้ความรู้พร้อมสาธิตการทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นป้องกันยุงลาย (3) สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมชุมชนควบคุมโรคติดต่ออย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน เทศบาลตำบลกำแพง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประกาศิตเพชรกาฬ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด