กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร้านชำปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพบริโภค
รหัสโครงการ 61-L3061-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.เกาะเปาะ
วันที่อนุมัติ 6 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 24 สิงหาคม 2561 - 24 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 21 กันยายน 2561
งบประมาณ 11,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมัครแวเด็ง
พี่เลี้ยงโครงการ นาย มูหะหมัด วันสุไลมาน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.815,101.201place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าปรเภทต่างๆ ให้แก่ผู้ปริโภคในพื้นที่ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปดภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหารเครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่วยสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียร์รอย เครื่่องสำอาจมีสารอันตรายอาหารมีสารปนเปื้นอนเจือปนอยู่ ซี่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆเช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและมีความปลอดภัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อให้แผงลอยทุกประเภทมีการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ60 2.เพื่อให้มีการตรวจประเมินร้านชำ ร้อยละ 60 3.เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการเรื่องการเลือกชื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ และผู้บริโภคในพื้นที่ 4.เพื่อให้ได้การเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน ร้อยละ 60 5.เพื่อเฝ้าระวังป้องกันผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ ครัวเรือ ชุมชน ร้านขายของชำตลาดสด อย่างต่อเนื่อง
  1. การเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน  ร้อยละ  60
  2. แผงลอยทุกประเภทมีการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน  ร้อยละ  65
  3. การส่งรายงานคุ้มครองผู้บริโภค  ร้อยละ  100
  4. การตรวจประเมินร้านชำ  ร้อยละ  100
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 11,800.00 1 11,800.00
24 ส.ค. 61 จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคในพื้นที่และอาสาสมัครสาธารณสุข 100 11,800.00 11,800.00

กิจกรรมที่ 1จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคในพื้นที่ และอาสาสมัครสาธารณสุขเข้ารับการประชุมจำนวน100คนดังนี้ - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการประชุมชี้แจงจำนวน100คนx 50บาทx1มื้อ เป็นเงิน5,000บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการประชุมชี้แจง100คนx25บาท x2มื้อเป็นเงิน5,000บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร300บาทx6ชม.เป็นเงิน1,800บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น11,800บาท(เงินหนึ่งหมื่นหนึ่งพันแปดร้อยบาทถ้วน)

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้บริโภคในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัย ไม่มีสารอันตราย มีภูมิคุ้มกันมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการในเฝ้าระวังป้องกันผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำในพื้นที่ร้านขายของชำในหมู่บ้านให้มีการจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพส่งผลให้ผู้บริโภคในพื้นที่ใช้สินค้าอุปโภคและบริโภคที่มีคุณภาพ มาตรฐานและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2561 10:35 น.