โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายหะหมะ หลีโกะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย จากข้อมูลสถิติโรคมะเร็งของประเทศไทย ตั้งแต่ปี ๒๐๑๐ – ๒๐๑๒ พบอุบัติการณ์การเกิดโรคมะเร็งเต้านมมากเป็นอันดับ ๑ ของสตรีไทย คิดเป็น ๒๘.๖ ต่อประชากรแสนคนและมีอัตราการเสียชีวิตและอัตราการเกิดโรคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าช่วงอายุที่พบสูงสุดจะอยู่ที่ ๕๐ – ๕๕ ปี แต่จากข้อมูลทะเบียนมะเร็งของประเทศไทยพบว่าเกิดได้ตั้งแต่อายุ ๒๐ ปีขึ้นไป และพบว่าช่วงอายุ ๓๐ – ๓๕ ปีมีแนวโน้มเป็นมะเร็งเต้านมสูงขึ้นเรื่อยๆ แสดงให้เห็นว่าอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมในกลุ่มสตรีมีอายุน้อยลง ซึ่งแนวทางที่ดีที่สุดในการลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านม คือการค้นหาและวินิจฉัยโรคมะเร็งเต้านมตั้งแต่ระยะแรก รวมทั้งการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง และเมื่อพบว่าผิดปกติต้องได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็ว
จากเหตุผลดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางาจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ขึ้น โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนาประจำปี ๒๕๖๑
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
- ๒. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
- ๓. เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ ๒ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย
- กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรี พร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของอสม. และแกนนำสตรี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,011
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยเดือนละครั้งสม่ำเสมอ
๒. เมื่อตรวจพบความผิดปกติต้องได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว
๓. ลดอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งเต้านมได้ระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ ๒ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 18 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้
941
0
2. กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรี พร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของอสม. และแกนนำสตรี
วันที่ 28 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรีพร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของ อสม.และแกนนำสตรี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 94.29
70
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้ และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 94.26
2.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ร้อยละ 71.63
3.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีผลการตรวจผิดปกติ จำนวน 6 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา ร้อยละ 100 แต่ไม่ใช่มะเร็ง เป็นเพียงผังผืดและซีสต์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๑. อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง มากกว่าร้อยละ ๙๐
0.00
2
๒. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ มากกว่าร้อยละ ๗๐
0.00
3
๓. เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ม
ตัวชี้วัด : ๓. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา ร้อยละ ๑๐๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1011
275
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,011
275
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง (2) ๒. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง (3) ๓. เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๒ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรี พร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของอสม. และแกนนำสตรี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายหะหมะ หลีโกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายหะหมะ หลีโกะ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย จากข้อมูลสถิติโรคมะเร็งของประเทศไทย ตั้งแต่ปี ๒๐๑๐ – ๒๐๑๒ พบอุบัติการณ์การเกิดโรคมะเร็งเต้านมมากเป็นอันดับ ๑ ของสตรีไทย คิดเป็น ๒๘.๖ ต่อประชากรแสนคนและมีอัตราการเสียชีวิตและอัตราการเกิดโรคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าช่วงอายุที่พบสูงสุดจะอยู่ที่ ๕๐ – ๕๕ ปี แต่จากข้อมูลทะเบียนมะเร็งของประเทศไทยพบว่าเกิดได้ตั้งแต่อายุ ๒๐ ปีขึ้นไป และพบว่าช่วงอายุ ๓๐ – ๓๕ ปีมีแนวโน้มเป็นมะเร็งเต้านมสูงขึ้นเรื่อยๆ แสดงให้เห็นว่าอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมในกลุ่มสตรีมีอายุน้อยลง ซึ่งแนวทางที่ดีที่สุดในการลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านม คือการค้นหาและวินิจฉัยโรคมะเร็งเต้านมตั้งแต่ระยะแรก รวมทั้งการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง และเมื่อพบว่าผิดปกติต้องได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็ว จากเหตุผลดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางาจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ขึ้น โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนาประจำปี ๒๕๖๑
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
- ๒. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
- ๓. เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ ๒ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย
- กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรี พร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของอสม. และแกนนำสตรี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,011 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยเดือนละครั้งสม่ำเสมอ ๒. เมื่อตรวจพบความผิดปกติต้องได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว ๓. ลดอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งเต้านมได้ระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ ๒ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 18 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้
|
941 | 0 |
2. กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรี พร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของอสม. และแกนนำสตรี |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรีพร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของ อสม.และแกนนำสตรี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 94.29
|
70 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้ และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 94.26 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ร้อยละ 71.63 3.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีผลการตรวจผิดปกติ จำนวน 6 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา ร้อยละ 100 แต่ไม่ใช่มะเร็ง เป็นเพียงผังผืดและซีสต์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ๑. อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง มากกว่าร้อยละ ๙๐ |
0.00 |
|
||
2 | ๒. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ มากกว่าร้อยละ ๗๐ |
0.00 |
|
||
3 | ๓. เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ม ตัวชี้วัด : ๓. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา ร้อยละ ๑๐๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1011 | 275 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,011 | 275 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีมีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง (2) ๒. เพื่อให้ อสม.และแกนนำสตรีสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง (3) ๓. เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๒ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำสตรี พร้อมทั้งประเมินทักษะการตรวจเต้านมของอสม. และแกนนำสตรี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายหะหมะ หลีโกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......