กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ประธานคณะกรรมการฝ่ายบริหารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการเทศบาลตำบลปริก

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7889-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7889-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,150.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีจำนวนผู้สูงอายุเกิน 60 ปี ประมาณ 10 ล้านคน จำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจำนวนผู้สูงอายุไทยจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 21 และร้อยละ 24 ของประชากรรวมในอีกสิบปีและสิบสี่ปีข้างหน้า ตามลำดับ และสังคมไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ขณะเดียวกันสัดส่วนของผู้สูงอายุวัยปลายก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกันอายุเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 78.4 ปี ในขณะที่ชายไทยมีอายุเฉลี่ย 71.6 ปี (ข้อมูลจากมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม 2558) ซึ่งจากการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 6,394,022 คน ในปี 2558 โดยกระทรวงสาธารณสุขพบว่า ร้อยละ 79 (5 ล้านคน) คือผู้สูงอายุติดสังคมหรือกลุ่มที่ยังช่วยเหลือตนเองได้ ทำกิจกรรมต่างๆ ได้ และอีกร้อยละ 21 ( 1.3 ล้านคน) คือผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงหรือเรียกว่า กลุ่มติดบ้านติดเตียงและต้องการการดูแลทั้งด้านสุขภาพและสังคม ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2557 (3) เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนดเป็นเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณ และเทศบาลตำบลปริก ได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกเรียบร้อยแล้วในปีงบประมาณ25๖๑ เทศบาลตำบลปริกและศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกได้เล็งเห็นความสำคัญและมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องระยะยาว จึงได้จัดโครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกฝ่ายต่างๆ และคณะทำงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  2. เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส่ เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก
  3. คณะกรรมการศูนย์ฯ เข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ เข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน ร่วมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานศูนย์ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บริหารจัดการเรื่องวัสดุสำนักงานต่างๆ เช่น กระดาษ A4 ปากกา ดินสอ น้ำยาลบ ค่าถ่ายเอกสารต่างๆ เอกสารประชุม ป้ายศูนย์ฯ ป้ายโครงสร้างบริหารศูนย์ ตรายาง ป้ายประชาสัมพันธ์ และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ฯ ทุกฝ่ายร่วมกัน 2 ครั้ง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 53 คน X คนละ 25 บาท X 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,650 บาท
  3. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน และฝ่ายสนับสนุน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 30 คน X คนละ 25 บาท X 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,500 บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

9.1 คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกฝ่ายต่างๆ และคณะทำงานๆ เกิดการพัฒนาศักยภาพตนเอง แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

9.2 คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกฝ่ายต่างๆ และคณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการเขียนโครงการ แนวทางการดำเนินงานโครงการ การติดตามและประเมินผลโครงการกิจรรม เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ถูกต้องตามหลักเกณฑ์

9.3 คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกฝ่ายต่างๆ และคณะทำงาน เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน บทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

9.4 ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก เกิดการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามหลักธรรมาภิบาลมากยิ่งขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน และฝ่ายสนับสนุน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 30 คน X คนละ 25 บาท X 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,500 บาท

วันที่ 18 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อาหารว่างและเครื่องดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาหารว่างและเครื่องดื่มเพื่อใช้ในการจัดประชุมคณะกรรมการดำเนินการ

 

30 0

2. บริหารจัดการเรื่องวัสดุสำนักงานต่างๆ เช่น กระดาษ A4 ปากกา ดินสอ น้ำยาลบ ค่าถ่ายเอกสารต่างๆ เอกสารประชุม ป้ายศูนย์ฯ ป้ายโครงสร้างบริหารศูนย์ ตรายาง ป้ายประชาสัมพันธ์ และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 18 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วัสดุอุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัสดุอุปกรณ์ในการบริหารจัดการกิจกรรม

 

53 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกฝ่ายต่างๆ และคณะทำงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของการประชุมประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกฝ่ายต่างๆ และคณะทำงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
80.00

 

2 เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส่ เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 ของการบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส่ เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก
100.00

 

3 คณะกรรมการศูนย์ฯ เข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ เข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน ร่วมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานศูนย์ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 คณะกรรมการศูนย์ฯ เข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ เข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน ร่วมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานศูนย์ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชุม แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริกฝ่ายต่างๆ และคณะทำงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (2) เพื่อบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส่ เป็นธรรมตามวัตถุประสงค์ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก (3) คณะกรรมการศูนย์ฯ เข้าใจวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ เข้าใจแนวทางการดำเนินงานบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจน ร่วมทั้งการร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการดำเนินงานศูนย์ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บริหารจัดการเรื่องวัสดุสำนักงานต่างๆ เช่น กระดาษ A4 ปากกา ดินสอ น้ำยาลบ ค่าถ่ายเอกสารต่างๆ เอกสารประชุม ป้ายศูนย์ฯ ป้ายโครงสร้างบริหารศูนย์ ตรายาง ป้ายประชาสัมพันธ์ และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (2) จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ฯ  ทุกฝ่ายร่วมกัน  2 ครั้ง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 53 คน X คนละ 25 บาท X 2 ครั้ง  เป็นเงิน  2,650  บาท (3) จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน และฝ่ายสนับสนุน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 30 คน X คนละ 25 บาท X 2 ครั้ง เป็นเงิน  1,500  บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7889-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานคณะกรรมการฝ่ายบริหารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการเทศบาลตำบลปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด