กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ สร้างเสริมป้องกันดูแลรักษาปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นพ.ประวิทย์ วรรณโร

ชื่อโครงการ สร้างเสริมป้องกันดูแลรักษาปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างเสริมป้องกันดูแลรักษาปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมป้องกันดูแลรักษาปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างเสริมป้องกันดูแลรักษาปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพ เช่น โรคเหงือกและฟัน โรคอ้วนหรือการเจริญเติบโตที่ไม่สมส่วน และการคัดกรองนักเรียนเพื่อหาคนที่เป็นออทิสติก ปัญหาเดิมนักเรียนไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการบันทึกทางสุขภาพของนักเรียนยังเป็นแบบแยกส่วน มีการบันทึกข้อมูลแบบกระจัดกระจาย บางส่วนบันทึกในเอกสารพื้นฐาน ในแฟ้มของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข บางส่วนในทะเบียนของโรงเรียนในสมุดสุขภาพที่โรงพยาบาลมอบให้ผู้ปกครองเมื่อเด็กแรกคลอด รวมทั้งข้อมูลในเวชระเบียนที่โรงพยาบาลต่างๆ เช่น โรงพยาบาลรัฐและเอกชน เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง การคำนวณสัดส่วนการเจริญเติบโต ข้อมูลวัคซีนการตรวจฟัน การตรวจตา ตรวจการได้ยิน การบันทึกโรคประจำตัว ความเจ็บป่วยสำคัญๆ รวมถึงการติดตามอย่างสม่ำเสมอเมื่อคัดกรองพบสิ่งผิดปกติ ฯลฯข้อมูลสุขภาพนักเรียนทั้งหมดที่มีอยู่ในปัจจุบัน ยังไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ให้ได้เต็มที่ ทำให้เป็นปัญหาทั้งโรงเรียนและครอบครัว โครงการนี้ได้มองเห็นความสำคัญของการเสริมสร้างและป้องกันดูแลรักษาปัญหาสุขภาพของนักเรียนในระยะยาวและเพื่อเก็บข้อมูลของนักเรียนแต่ละคนให้มีฐานข้อมูลเดียวกันโดยหวังว่าจะแก้ปัญหาที่เป็นจุดอ่อนในเชิงระบบของสุขภาพเยาวชน โดยนำจุดแข็งของการออกแบบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยผ่านการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล ประเทศไทย 4.0 และการสนับสนุนโครงการป้องกันส่งเสริมดูแลสุขภาพของ สปสช.และพันธกิจของเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในการดูแลสุขภาพประชาชน ด้วยความร่วมมือของโรงพยาบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในการดูแลสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. คัดกรองเด็กนักเรียนและส่งเสริมป้องกันโรค โดยมี 3 เรื่องหลัก ดังนี้ - ร่างกาย เรื่องการเจริญเติบโต สมส่วน เช่น เด็กอ้วน ผอม ไม่สมส่วน - สติปัญญาคัดกรองเรื่องปัญหาการเรียนรู้ในวัยเรียน เช่น ออทิสติก, แอลดี เป็นต้น - ปัญหาในช่องปาก โรคเหงือกและฟัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะทำงาน
  2. หารือ ผู้บริหารโรงเรียน เสนอวิธีแก้ปัญหาแลกเปลี่ยน เพื่อเกิดโครงการแก้ปัญหา บูรณาการ ต่อยอด
  3. นำเสนอโครงการและแนวทางดำเนินการให้คณะครูประจำชั้นและผู้บริหารโรงเรียนเข้าฟังและฝึกทักษะการสาธิตเชิงปฏิบัติการใช้งานโปรแกรมคัดกรองสุขภาพ
  4. Feedback สะท้อนข้อมูลจากสมาคมผู้ปกครองหรือตัวแทนมีส่วนร่วม
  5. สนับสนุนเด็กนักเรียน อย.น้อย กลุ่มดูแลพี่และเพื่อน ทุกชั้นปี
  6. ประชุมประสานงานโดยภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนต่างๆ, เทศบาลนครหาดใหญ่, โรงพยาบาลหาดใหญ่, สปสช. เขต 12 , บมจ. ทีโอที และเครือข่ายภาคเอกชน
  7. นำข้อมูลเข้าและดึงข้อมูลรายงานโดย บมจ. ทีโอที
  8. ติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 875
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนในโรงเรียนจะได้รับการป้องกันส่งเสริม ดูแลรักษาและฟื้นฟู โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ร่วมกับศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครหาดใหญ่
  2. ครูประจำชั้นทุกคนและครูอนามัยโรงเรียนมีความรู้เบื้องต้นในการคัดกรองสุขภาพที่จำเป็นของนักเรียน
  3. ครูประจำชั้นทุกคนและครูอนามัยโรงเรียนมีทักษะการใช้โปรแกรมบันทึกสุขภาพนักเรียนในระบบเวชระเบียน ในระบบเทคโนโลยีเวชสารสนเทศส่วนกลาง
  4. นักเรียนในโรงเรียนเทศบาลทั้งหมดที่ร่วมโครงการจะได้รับการคัดกรองสุขภาพและบันทึกในระบบเวชระเบียน ในระบบเทคโนโลยีเวชสารสนเทศ
  5. โรงเรียน และพื้นที่ จะได้ข้อมูลสุขภาพของนักเรียนทุกคน เพื่อการวิเคราะห์ รายงานข้อมูลโดยภาพรวม เพื่อวางแผนงาน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ และสาธารณสุข
  6. แผนการดำเนินงานขยายผลในโรงเรียนอื่นๆในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ในระยะต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมคณะทำงาน

วันที่ 4 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.1 นำเสนอปัญหาข้อมูลการตรวจสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียน 1.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.3 ปี 2561-2562 ทำโครงการแก้ปัญหาเรื่องน้ำหนัก ส่วนสูง, การเรียนรู้, เรื่องฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้วางแผนในการทำกิจกรรม

 

10 0

2. นำเสนอโครงการและแนวทางดำเนินการให้คณะครูประจำชั้นและผู้บริหารโรงเรียนเข้าฟังและฝึกทักษะการสาธิตเชิงปฏิบัติการใช้งานโปรแกรมคัดกรองสุขภาพ

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมและอภิปรายการป้องกันดูแลรักษาปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูประจำชั้นเข้าร่วมการอบรม และปฏิบัติการนำเข้าข้อมูลคัดกรองปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน

 

70 0

3. หารือ ผู้บริหารโรงเรียน เสนอวิธีแก้ปัญหาแลกเปลี่ยน เพื่อเกิดโครงการแก้ปัญหา บูรณาการ ต่อยอด

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

หารือ ผู้บริหารโรงเรียน เสนอวิธีแก้ปัญหาแลกเปลี่ยน เพื่อเกิดโครงการแก้ปัญหา บูรณาการ ต่อยอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้บริหารโรงเรียนเสนอวิธีแก้ปัญหาแลกเปลี่ยนเพื่อเกิดโครงการแก้ปัญหา บูรณาการ ต่อยอด

 

0 0

4. Feedback สะท้อนข้อมูลจากสมาคมผู้ปกครองหรือตัวแทนมีส่วนร่วม

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

รับข้อเสนอแนะจากการอบรมและปฏิบัติการ สะท้อนข้อมูลจากสมาคมผู้ปกครองหรือตัวแทนมีส่วนร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำข้อเสนอแนะที่ได้จากการสะท้อนข้อมูลจากสมาคมผู้ปกครองหรือตัวแทนมีส่วนร่วมมาแก้ไขเพื่อให้การต่อยอดและบูรณาแก่โครงการ

 

0 0

5. สนับสนุนเด็กนักเรียน อย.น้อย กลุ่มดูแลพี่และเพื่อน ทุกชั้นปี

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนเด็กนักเรียนให้เกิดกลุ่มอย.น้อย ซึ่งเป็นกลุ่มที่ทำหน้าที่ในการดูแลพี่และเพื่อน ทุกชั้นปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนที่มีผลการคัดกรองสุขภาพที่ดีสามารถดูแลเพื่อนร่วมชั้น ร่วมกับครูประจำชั้นได้

 

0 0

6. ประชุมประสานงานโดยภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนต่างๆ, เทศบาลนครหาดใหญ่, โรงพยาบาลหาดใหญ่, สปสช. เขต 12 , บมจ. ทีโอที และเครือข่ายภาคเอกชน

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมประสานงานโดยภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนต่างๆ, เทศบาลนครหาดใหญ่, โรงพยาบาลหาดใหญ่, สปสช. เขต 12 , บมจ. ทีโอที และเครือข่ายภาคเอกชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมประสานงานโดยภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนต่างๆ, เทศบาลนครหาดใหญ่, โรงพยาบาลหาดใหญ่, สปสช. เขต 12 , บมจ. ทีโอที และเครือข่ายภาคเอกชน

 

0 0

7. นำข้อมูลเข้าและดึงข้อมูลรายงานโดย บมจ. ทีโอที

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ครูประจำชั้นระดับอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 4 (วัดคลองเรียน) ทำเข้าข้อมูลการคัดกรองปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก ในนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการคัดกรองนักเรียนที่พบความบกพร่อง ครูประจำชั้นสามารถดูแลนักเรียนได้เพิ่มขึ้นร่วมกับพยาบาลประจำศูนย์ของโรงเรียน

 

0 0

8. ติดตามประเมินผล

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมผลการคัดกรองปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการสรุปผลการดำเนินโครงการดูแลรักษาป้องกันปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน ชั้นอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 4 (วัดคลองเรียน) อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 คัดกรองเด็กนักเรียนและส่งเสริมป้องกันโรค โดยมี 3 เรื่องหลัก ดังนี้ - ร่างกาย เรื่องการเจริญเติบโต สมส่วน เช่น เด็กอ้วน ผอม ไม่สมส่วน - สติปัญญาคัดกรองเรื่องปัญหาการเรียนรู้ในวัยเรียน เช่น ออทิสติก, แอลดี เป็นต้น - ปัญหาในช่องปาก โรคเหงือกและฟัน
ตัวชี้วัด : 1. คัดกรองและส่งเสริมป้องกันรักษา สามารถจัดกิจกรรมให้แก่นักเรียนในโรงเรียนได้มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ 2. ครูประจำชั้นได้รับการฝึกทักษะคัดกรองและบันทึกผลได้ 100 เปอร์เซ็นต์
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 875
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 875
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) คัดกรองเด็กนักเรียนและส่งเสริมป้องกันโรค โดยมี 3 เรื่องหลัก ดังนี้
- ร่างกาย เรื่องการเจริญเติบโต สมส่วน เช่น เด็กอ้วน ผอม ไม่สมส่วน
- สติปัญญาคัดกรองเรื่องปัญหาการเรียนรู้ในวัยเรียน เช่น ออทิสติก, แอลดี เป็นต้น
- ปัญหาในช่องปาก โรคเหงือกและฟัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงาน (2) หารือ ผู้บริหารโรงเรียน เสนอวิธีแก้ปัญหาแลกเปลี่ยน เพื่อเกิดโครงการแก้ปัญหา บูรณาการ ต่อยอด (3) นำเสนอโครงการและแนวทางดำเนินการให้คณะครูประจำชั้นและผู้บริหารโรงเรียนเข้าฟังและฝึกทักษะการสาธิตเชิงปฏิบัติการใช้งานโปรแกรมคัดกรองสุขภาพ (4) Feedback สะท้อนข้อมูลจากสมาคมผู้ปกครองหรือตัวแทนมีส่วนร่วม (5) สนับสนุนเด็กนักเรียน อย.น้อย กลุ่มดูแลพี่และเพื่อน ทุกชั้นปี (6) ประชุมประสานงานโดยภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนต่างๆ, เทศบาลนครหาดใหญ่, โรงพยาบาลหาดใหญ่, สปสช. เขต 12 , บมจ. ทีโอที และเครือข่ายภาคเอกชน (7) นำข้อมูลเข้าและดึงข้อมูลรายงานโดย บมจ. ทีโอที (8) ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างเสริมป้องกันดูแลรักษาปัญหาการเจริญเติบโตผิดปกติและออทิสติก โรคเหงือกและฟันในนักเรียน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นพ.ประวิทย์ วรรณโร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด