กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชิงรุก
รหัสโครงการ 60-8287-1-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อบต.เทพา
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2560
งบประมาณ 244,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
พี่เลี้ยงโครงการ นายกาดาฟีหะยีเด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ส.ค. 2560 30 ก.ย. 2560 143,200.00
รวมงบประมาณ 143,200.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (143,200.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (244,150.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้กลวิธีสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทยดำเนินการมากว่า 20 ปี มีอสม.เป็นกลไกสำคัญในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง อสม.ถือเป็นผู้ที่มีความสำคัญ เป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ โดยอสม. จะทำหน้าที่แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ประสานสาธารณสุข บำบัดทุกข์ให้ประชาชน ทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นผู้เชื่อมประสานระหว่างเจ้าหน้าที่กับชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาและการสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการดูแลจัดการด้านสุขภาพ ทำให้อสม.จำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมอบต.เทพา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชิงรุก ขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาให้ อสม. เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถตามสภาพปัญหาและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ ตลอดจนให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้นในอนาคต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของอสม.ในการปฏิบัติงาน 2. เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสังคม 3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง 4. เพื่อดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชนในพื้นที่
  1. อสม.มีความรู้ มากกว่าร้อยละ 80
  2. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับคัดกรองโรค มากกว่าร้อยละ 90
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00
  1. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์จัดอบรม
  2. ประสานอสม.เข้าร่วมกิจกรรม
  3. ดำเนินการจัดอบรมรักษาพยาบาลเบื้องต้น และการใช้อุปกรณ์ชุดคัดกรองโรค
  4. ส่งมอบชุดกระเป๋ายา และวัสดุอุปกรณ์ชุดคัดกรองโรค
  5. อสม.คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตูง ุ6. ประเมินผลการจัดกิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.มีความรู้ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
  2. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2560 16:10 น.