กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่


“ โครงการป้องกันการตั้งครรรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น ”

ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมินทร์ลดา จันทรโรชสิทธิ์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตั้งครรรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น

ที่อยู่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการตั้งครรรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการตั้งครรรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางของการวิกฤติมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนหรือวัยรุ่น ซึ่งอยู่ในช่วงวัยเรียนเป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์และพฤติกรรมเป็นช่วงรอยต่อของความเป็นเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะต้องได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ แต่ด้วยอิทธิพลของเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคม ทำให้เยาวชนเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบชัดเจน โดยเฉพาะปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ สถิติและข้อมูลทางสังคมทุกวันนี้ ล้วนบ่งชี้ไปในทิศทางเดียวกัน เยาวชนมีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้นมีความรู้เรื่องสุขภาวะทางเพศน้อยลง ทำให้เกิดปัญหาทางตั้งครรภ์ที่อายุน้อย การตั้งครรภ์ไม่พร้อม การทิ้งทารกและทำแท้ง รวมทั้งปัญหาสุขภาพที่เป็นภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้ง ตลอดจนการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อ เอชไอวี โรคเอดส์ จากข้อมูลของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคพบว่าการติดเชื้อเอช ไอ วี เอดส์ รายใหม่และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชนที่มีอายุ 12-24 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้นในทุกพื้นที่ของประเทศ และในพื้นที่ของตำบลวังใหญ่ก็เช่น มีจำนวนของวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม หรือคุณแม่วัยใสเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดั้งนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นขึ้น เพื่อต่อสู้กับปัญหาอนามัยเจริญพันธุ์และการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มเสี่ยง คือ การป้องกัน การให้ความรู้ที่ถูกต้อง จะทำให้ลดการเกิดปัญหาต่างๆนี้ลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น อายุ 12-20 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ อย่างถูกต้อง 2. นักเรียนมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม และสามารถป้องกันตนเองจากการติดเชื้อเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 3. นักเรียนมีการนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับเพื่อนและบุคคลในครอบครัวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 14 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

๑.ประสานโรงเรียน ๒.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๓.ประสานวิทยากร ๔.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดอบรม ๕.จัดอบรมให้ความรู้ ประกอบด้วย   -สถานการณ์เอดส์และอนามัยเจริญพันธุ์   -ความรู้เรื่องเอดส์/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์   -การประเมินพฤติกรรมเสี่ยง   -การเรียนรู้ทักษะชีวิตสำหรับเยาวชน   -การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทักษะชีวิต   -ช่องทางการขอรับคำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข   -ประสานโรงเรียนเพื่อจัดบริการให้คำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่สาธารรสุข   -สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ๒.นักเรียนมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม และสามารถป้องกันตนเองจากติดเชื้อเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ๓.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับเพื่อนและบุคคลในครอบครัวได้

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น อายุ 12-20 ปี
ตัวชี้วัด : อัตราการตั้งครรภ์ในเด็กและเยาวชนลดลง
20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น อายุ 12-20 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการตั้งครรรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมินทร์ลดา จันทรโรชสิทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด