กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ


“ โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2561 ”

ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางละออง ด้วงคง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1487-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1487-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขและมีความสำคัญต่อการป่วยพิการและตายก่อนวัยอันควร จำนวนมากได้แก่โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาตซึ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนี้ไม่ได้มีผลกระทบเฉพะบุคคลผู้ที่เป็นโรคเท่านั้นแต่ยังส่งผลไปถึงครอบครัวชุมชนรวมไปถึงการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศซึ่งทางสำนักโรคไม่ติดต่อได้รณรงค์และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภายใต้แนวความคิดหลักคือการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตด้วยหลัก 3อ.2ส. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สูบบุหรี่สุรา เน้นที่ประชาชนที่มีอายุ15 ปีขึ้นไปและมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้มีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้เหมาะสมโดยการเลือกรับประทานอาหารรสไม่จัด ( ลดหวานมันเค็มลง )เพิ่มการรับประทานผักและผลไม้ มีวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉงและออกกำลังกายเพียงพอไม่สูบบุหรี่ลดการดื่มแอลกอฮอล์และมีการจัดการความเครียดที่เหมาะสมจากการดำเนินงานคลินิกโรคเบาหวานและความดันโลหิตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะพบว่าในพื้นที่ตำบลสุโสะมีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนโรคอัมพฤกษ์อัมพาตส่งผลให้เกิดการเสียชีวิต และพิการเพิ่มขึ้นทุกปีดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะจึงได้จัดทำโครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประจำปี พ.ศ.2561 ต่อเนื่องขึ้นเพื่อเป็นการควบคุมและเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคให้ได้รับการดูแลตามมาตรฐานไม่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ตำบลสุโสะ
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในพื้นที่ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และความดันโลหิต
  3. 3. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้
  4. 4. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้
  5. 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค 3. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ร้อยละ 40
4. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ร้อยละ 50
5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวาน

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1. ประจักประชุมวางแผนร่วมกับผู้นำชุมชน และ อสม.เพื่อขออนุมัติโครงการ 2.ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการแก่ผู้นำชุมชน อสม.และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่ขอความร่วมมือในการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1.ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติ 2.จัดกิจกรรมให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การป้องกันภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐานการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้ความรู้ด้านการรับประทานยาที่ถูกต้อง และการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์แก่ตนเอง การออกกำลังกายที่ถูกวิธีสำหรับผู้ป่วย และการดูแลตนเองให้ปราศจากโรคแทรกซ้อนอย่างถูกต้อง และเหมาะสม 3.ผู้ป่วยเบาหวานและความดัน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคแทรกซ้อนตามเกณฑ์ 4.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค การป้องกันตนเองจากภาวะแทรกซ้อน การรับประทานยาที่ถูกต้อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม แก่ผู้ป่วยในคลินิกเบาหวาน ความดัน เดือนละ 1 ครั้ง ทุกวันอังคารที่ 4 ของเดือน ขั้นสรุปผลดำเนินการ 1.สรุป/ประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค 3.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ร้อยละ 40 4.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ร้อยละ 50 5.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง

 

160 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ร้อยละ 80 ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน และความดันโลหิตได้ถูกต้อง ร้อยละ 70 ผู้ป่วยและญาติสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและความดันโลหิต ร้อยละ 40 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ร้อยละ 70 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการเข้าร่วมอบรมเพิ่มขึ้นโดยใช้แบบประเมิน ก่อน - หลังการอบรม
160.00 160.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และความดันโลหิต
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่ถูกต้อง  (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และความดันโลหิต  (3) 3. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ (4) 4. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ (5) 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1487-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางละออง ด้วงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด