กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ


“ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 ”

ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยน้ำตก

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1487-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1487-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรังยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยและมีแนวโน้มว่าจะยังคงเป็นปัญหาในอนาคตถึงแม้มีความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขก็ตามสังคมไทยยุคใหม่มีความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดหลอดเลือดสมอง โรคไขมันในเลือดสูง โรคมะเร็งเป็นต้นและยังเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆของคนไทย การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้ป่วยครอบครัวและสังคมและทำให้ประเทศไทยต้องเสียค่าใช้จ่ายปีละหลายบาทในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และโรคแทรกซ้อนจากโรค หรือความพิการจากโรค การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีสาเหตุหลายอย่าง เช่นพันธุกรรมพฤติกรรมและวิถีชีวิต การรับประทานอาหารหวานมันเค็มการออกกำลังกายการพักผ่อนและการมีพฤติกรรมเสี่ยง การดื่มสุราการสูบบุหรี่ การมีภาวะอ้วนลงพุงเป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยน้ำตกตำบลสุโสะมีผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ต้องดูแล โรคเบาหวาน จำนวน128คนโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 258 คนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 93 คน โรคไขมันในเส้นเลือด จำนวน ๒๔ คน โรคหัวใจขาดเลือดและหลอดเลือดสมองจำนวน ๑๐ คนและกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน ๓๓๔คน นับว่าเป็นปัญหาที่มีความสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนและต้องดูแลอย่างต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยน้ำตกได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี ๒๕๖๑

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดความพิการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและลดการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เข้าอบรมมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีในการดูแล สุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรค ๒.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐ ๓.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ๔.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานป่วยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ ๕ ๕.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ ๑๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

วันที่ 24 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านห้วยน้ำตกและ อสม.เพื่อจัดทำโครงการ 2.จัดทำโครงการเสนออนุมัติเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ 3.ประสานงานสำนักงานสาธารณสุขอำเภอปะเหลียน โรงพยาบาลปะเหลียน อบต.สุโสะ ผู้นำชุมชนเพื่อขอความร่วมมือ 4.เตรียมวัสดุเอกสารและสื่อประกอบการอบรม เช่น วีซีดี แผ่นพับ เอกสารฯ ขั้นดำเนินการ 1.ประชุมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย 100  คน   -การบรรยายโดยวิทยากร ฉาย วีซีดี สาเหตุการเกิดโรค อาการ การปฏิบัติตัว การดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการป้องกันในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.เยี่ยมติดตามส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่เข้าอบรมมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในการดูแลสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 3.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานป่วยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5 4.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ประชุม อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง -สรุปผลโครงการ -รายงานผลโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้การดูแลสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
100.00 100.00

่กดรกห่ดฟยนห่ดยฟห่ดลย

2 เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดความพิการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ประชาชนรับรู้ภาวะการแทรกซ้อนและลดความพิการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
100.00 100.00

ประชาชนรับรู้ภาวะการแทรกซ้อนและลดความพิการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

3 เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและลดการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ประชาชนลดปัจจัยเสี่ยงและลดการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง
100.00 100.00

ประชาชนได้รับรู้และลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดความพิการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและลดการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1487-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยน้ำตก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด