โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L7580-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L7580-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 129,963.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจาก โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุบนถนน อุบัติเหตุการจมน้ำ ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวะการหยุดหายใจกะทันหันถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธีจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ดังนั้นการอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จึงเป็นหลักสูตรที่สำคัญซึ่งจะทำให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝนอย่างชำนาญ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้อื่นได้ในภาวะฉุกเฉิน
นอกจากนี้สถานการณ์ในเขตตำบลฉลุง พบว่ายังมีอุบัติเหตุต่างๆเกิดขึ้นบ่อยครั้งไม่ว่าจะเป็นการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน การเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ การตกจากที่สูง เช่น ต้นไม้ , อาคาร ทำให้ได้รับบาดเจ็บ ทุพพลภาพ จนกระทั่งเสียชีวิต ซึ่งในรอบ 3 ปี มีการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 4,057 ครั้ง ซึ่งเป็นทุพพลภาพ จำนวน 17 คน ได้รับบาดเจ็บ จำนวน 5065 คน และเสียชีวิต จำนวน 120 คน โดยสาเหตุจากการเกิดอุบัติเหตุนั้นมีมากมาย เช่น ความประมาทในการกระทำของตนเอง ขาดความระมัดระวัง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เกิดจากสภาพแวดล้อม ไม่รู้จักการป้องกันตนเอง เป็นต้น
เทศบาลตำบลฉลุง โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) สำหรับแกนนำด้านสุขภาพ เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพที่เป็นกำลังหลักในการดำเนินงานสาธารณสุขในพื้นที่ ในชุมชนได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝนอย่างชำนาญ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ช่วยเหลือผู้อื่นได้ในภาวะฉุกเฉินก่อนนำส่งสถานพยาบาลต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR)
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น)
- อบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ
- อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม
- กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
- อบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ
- กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
- อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล
- แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) และทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)
- แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทักษะในการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. ตะโกนขอความช่วยเหลือ ว่า “ช่วยด้วยๆมีคนตกน้ำ”
2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อให้คนตกน้ำเกาะจับพยุงตัว เช่น เชือก ถังแกนลอนพลาสติก ขวดพลาสติก หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้
3. ยื่นสิ่งของยาวๆที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่ง แล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่ตกน้ำและดึงขึ้นฝั่ง
โดยในแต่ละกลุ่มสามารถช่วยเหลือตนเองจากการประสบอุบัติเหตุได้เป็นอย่างดี
40
0
2. อบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลโดยการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลมีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ
โดยใช้เกณฑ์แปลผล ดังนี้
1. ระดับคะแนน 9-10 แปลผลว่า มากที่สุด
2.ระดับคะแนน 7-8 แปลผลว่า มาก
3.ระดับคะแนน 5-6 แปลผลว่า ปานกลาง
4.ระดับคะแนน 3-4 แปลผลว่า น้อย
5.ระดับคะแนน 1-2 แปลผลว่า น้อยที่สุด
ตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม
เกณฑ์แปลผล ทดสอบความรู้
ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ
มากที่สุด 0 0 27 67.5
มาก 5 12.5 6 15
ปานกลาง 27 67.5 7 17.5
น้อย 5 12.5 0 0
น้อยที่สุด 3 7.5 0 0
รวม 40 100 40 100
จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ระดับปานกลาง จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 และระดับน้อยที่สุด จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5หลังการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 และระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5
ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม
ก่อนการอบรม หลังการอบรม
คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ
7 5 12.5 10 15 37.5
6 9 22.5 9 12 3
5 18 45 8 3 7.5
4 3 7.5 7 3 7.5
3 2 5 6 6 15
2 3 7.5 5 1 2.5
รวม 40 100 รวม 40 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมแกนนำด้านสุขภาพได้คะแนนสูงสุดที่ 7 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 รองลงมา 6 คะแนน จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 คะแนนน้อยที่สุดที่ 2 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 5 คะแนน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 หลังการอบรมแกนนำด้านสุขภาพ ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3คะแนนน้อยที่สุดที่ 5 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100
นอกจากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง แล้ว แกนนำด้านสุขภาพได้แบ่งกลุ่มลงมือปฏิบัติในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยการใช้ผ้าสามเหลี่ยมพันแผลเมื่อได้รับบาดเจ็บในส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น ได้รับบาดเจ็บบริเวณส่วนบนศรีษะ ส่วนด้านข้างศรีษะ ส่วนแขน ส่วนมือ และส่วนไหล่ ได้ถูกต้อง ครบถ้วนทุกคนคิดเป็นร้อยละ 100
จึงสามารถสรุปได้ว่า แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลคิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1
40
0
3. กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการแสดงสปิหริดของตนเองออกมาโดยการออกกำลังกายบาซาโรบและทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
40
0
4. อบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ
วันที่ 4 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) จากการประเมินทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ผู้ป่วยที่หมดสติ โดยทุกคนสามารถฝึกปฏิบัติขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)คนหมดสติ คิดเป็น
ร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้
การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) หรือ การกู้ชีวิต หรือการกู้ชีพ หมายถึง การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ที่หยุดทำงานอย่างกะทันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง
วัตถุประสงค์ของการช่วยฟื้นคืนชีพ
1. เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ
2. ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ
3. คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
4. ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว
ซึ่งเมื่อเราพบคนหมดสติ สิ่งแรกที่ควรมี คือ สติ และสิ่งที่สำคัญ คือ ความปลอดภัยของผู้ให้การช่วยเหลือและผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือแล้วจะประเมินสถานการณ์หรือประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วยเจ็บเบื้องต้น
๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัว โดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บและตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ
๓. ตรวจทางเดินหายใจ นำสิ่งแปลกปลอมและฟันปลอมออกจากปาก แล้วเปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง ของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้แหงนหน้าขึ้น
๔. ตรวจการหายใจ โดยสังเกตการเคลื่อนไหวของหน้าอก และ ลมหายใจ ใช้หลักตาดู หูฟัง แก้มสัมผัส
๕. ตรวจหาการบาดเจ็บ โดยตรวจตั้งแต่ศีรษะ จรดปลายเท้า
ขั้นตอนการกู้ฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่
๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัวโดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บ และตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ และพลิกผู้ป่วยเจ็บให้นอนหงายราบบนพื้นเรียบแข็ง
๓. ถ้าผู้ป่วยเจ็บไม่ตอบสนอง ให้ช่วยการไหลเวียนโลหิตโดยการกดหน้าอก 30 ครั้ง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที กดลึก ๒ นิ้ว หรือ ๕ เซนติเมตร (ใช้มือข้างหนึ่งวางและใช้มืออีกข้างวางทับ แล้วใช้ส้นมือกดที่กึ่งกลางหน้าอก )
๔. เปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้หน้าแหงนขึ้น และช่วยหายใจ โดยการเป่าปาก ๒ ครั้ง ครั้งละ ๑ วินาที
๕. หลังจากนั้นให้กดหน้าอกสลับกับการเป่าปาก ด้วยอัตรา ๓๐ ต่อ ๒ (นับเป็น ๑ รอบ) ประเมินผลการกู้ชีพทุก ๕ รอบ (ใช้เวลา ๒ นาที)
ในกรณีที่มีผู้ปฏิบัติการกู้ชีพมาช่วยเหลือเพิ่มขึ้น ควรสลับหน้าที่ของผู้ที่กดหน้าอก กับผู้ที่เป่าปากทุก ๒ นาที หรือทุก ๕ รอบ
หมายเหตุ: ในกรณีไม่สามารถช่วยเป่าปากได้ สามารถใช้การกดหน้าอกอย่างต่อเนื่อง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที
40
0
5. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น)
วันที่ 4 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น (ตะโกน โยน ยื่น)จากการฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)พร้อมทั้งได้ทดสอบเป็นรายกลุ่มซึ่งทุกคนสามารถทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 โดยมีเนื้อหาการอบรมดังนี้
ทักษะในการช่วยเหลือตนเองในท่าต่างๆ เช่น
* ท่าลอยตัว มี 4 ท่า ได้แก่ ท่าปลาดาวหงาย ท่าปลาดาวคว่ำ ท่าแมงกะพรุน และท่าเต่า
* ท่าว่ายน้ำเอาชีวิตรอด มี 2 ท่า ได้แก่ ท่าหมาตกน้ำ และท่ากรรเชียงหงาย
ซึ่งก่อนที่จะทำท่าต่างๆ แกนนำด้านสุขภาพ ได้ฝึกการกำหนดลมหายใจใต้น้ำ และฝึกการเป่าลมใต้น้ำ ถึงแม้บางคนอาจจะทำได้ช้าแต่ทุกคนก็สามารถทำได้ทุกคน
ทักษะในการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. ตะโกนขอความช่วยเหลือ ว่า “ช่วยด้วยๆมีคนตกน้ำ”
2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อให้คนตกน้ำเกาะจับพยุงตัว เช่น เชือก ถังแกนลอนพลาสติก ขวดพลาสติก หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้
3. ยื่นสิ่งของยาวๆที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่ง แล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่ตกน้ำและดึงขึ้นฝั่ง
แกนนำด้านสุขภาพได้ทำการปฏิบัติจริงในการใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อช่วยเหลือ
คนตกน้ำ ดังนี้
1. การโยนได้แก่
1.1 การโยนเชือก
* ท่ายืน โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ข้างเท้าที่ถนัดจับปลายเชือกไว้ มืออีกด้านถือเชือกไว้พร้อมที่จะโยน การโยนเชือกให้โยนเลยเหนือศีรษะคนตกน้ำระหว่างช่วงไหล่ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ
1.2 การโยนห่วงชูชีพ
* ท่าโยนเหนือศีรษะโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพยกขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมทั้งโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง
ขาหลังงอ
* ท่าโยนใต้ขาโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพถือไว้ระหว่างขาแล้วโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ
- ท่าโยนมือเดียว โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ถนัดจับห่วงชูชีพ แล้วกางแขนออกประมาณ 45 องศา โยนห่วงชูชีพไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง
ขาหน้าตึงขาหลังงอ
1.3 การโยน Rescue Tubeโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับRescue Tube แล้วโยน Rescue Tube ไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง
ขาหลังงอ
- การยื่น ได้แก่
2.1 การยื่นไม้
* ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ในท่าที่ถนัด แล้วย่อขาด้านหน้าลง ขาหลังตึง พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
* ท่านั่งโดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
* ท่านอนโดยให้นอนคว่ำ แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ยื่นไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้คนช่วยพลิกตัวตะแคงและสาวไม้ดึงคนตกน้ำขึ้นมา
2.2 การยื่น Rescue Tube
* ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับRescue Tube แล้วย่อขาด้านหน้าลงพร้อมทั้งยื่น Rescue Tube ไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวRescue Tube ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
* ท่านั่ง โดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปหน้าคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
40
0
6. กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
วันที่ 5 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มแกนนำด้านสุขภาพที่รับการอบรมสามารถทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันได้เป็นอย่างดี
40
0
7. อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม
วันที่ 5 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์ จากการประเมินการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) พบว่า แกนนำด้านสุขภาพ ได้ทำการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) เป็นรายกลุ่ม โดยแกนนำสุขภาพในแต่ละกลุ่ม สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งสติ มีผู้ควบคุมสถานการณ์ ความปลอดภัยของผู้ประสบอุบัติเหตุ การประเมินสถานการณ์ การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การแบ่งภาระหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ การจัดลำดับความรุนแรงผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ รวมทั้งการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ซึ่งแกนนำสุขภาพได้ผ่านการประเมินทุกคน คิดเป็นรายกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้82 คะแนน กลุ่มที่ 2 ได้ 90 คะแนน กลุ่มที่ 3 ได้ 93 คะแนนกลุ่มที่ 4 ได้ 87 คะแนน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 88บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 4
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
แกนนำด้านสุขภาพเข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 40 คนคิดเป็นร้อยละ 100
1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลโดยการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลมีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ
โดยใช้เกณฑ์แปลผล ดังนี้
1. ระดับคะแนน 9-10 แปลผลว่า มากที่สุด
2.ระดับคะแนน 7-8 แปลผลว่า มาก
3.ระดับคะแนน 5-6 แปลผลว่า ปานกลาง
4.ระดับคะแนน 3-4 แปลผลว่า น้อย
5.ระดับคะแนน 1-2 แปลผลว่า น้อยที่สุด
ตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม
เกณฑ์แปลผล ทดสอบความรู้
ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ
มากที่สุด 0 0 27 67.5
มาก 5 12.5 6 15
ปานกลาง 27 67.5 7 17.5
น้อย 5 12.5 0 0
น้อยที่สุด 3 7.5 0 0
รวม 40 100 40 100
จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ระดับปานกลาง จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 และระดับน้อยที่สุด จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5หลังการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 และระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5
ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม
ก่อนการอบรม หลังการอบรม
คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ
7 5 12.5 10 15 37.5
6 9 22.5 9 12 3
5 18 45 8 3 7.5
4 3 7.5 7 3 7.5
3 2 5 6 6 15
2 3 7.5 5 1 2.5
รวม 40 100 รวม 40 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมแกนนำด้านสุขภาพได้คะแนนสูงสุดที่ 7 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 รองลงมา 6 คะแนน จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 คะแนนน้อยที่สุดที่ 2 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 5 คะแนน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 หลังการอบรมแกนนำด้านสุขภาพ ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3คะแนนน้อยที่สุดที่ 5 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100
นอกจากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง แล้ว แกนนำด้านสุขภาพได้แบ่งกลุ่มลงมือปฏิบัติในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยการใช้ผ้าสามเหลี่ยมพันแผลเมื่อได้รับบาดเจ็บในส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น ได้รับบาดเจ็บบริเวณส่วนบนศรีษะ ส่วนด้านข้างศรีษะ ส่วนแขน ส่วนมือ และส่วนไหล่ ได้ถูกต้อง ครบถ้วนทุกคนคิดเป็นร้อยละ 100
จึงสามารถสรุปได้ว่า แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลคิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) จากการประเมินทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ผู้ป่วยที่หมดสติ โดยทุกคนสามารถฝึกปฏิบัติขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)คนหมดสติ คิดเป็น
ร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้
การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) หรือ การกู้ชีวิต หรือการกู้ชีพ หมายถึง การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ที่หยุดทำงานอย่างกะทันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง
วัตถุประสงค์ของการช่วยฟื้นคืนชีพ
1. เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ
2. ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ
3. คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
4. ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว
ซึ่งเมื่อเราพบคนหมดสติ สิ่งแรกที่ควรมี คือ สติ และสิ่งที่สำคัญ คือ ความปลอดภัยของผู้ให้การช่วยเหลือและผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือแล้วจะประเมินสถานการณ์หรือประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วยเจ็บเบื้องต้น
๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัว โดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บและตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ
๓. ตรวจทางเดินหายใจ นำสิ่งแปลกปลอมและฟันปลอมออกจากปาก แล้วเปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง ของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้แหงนหน้าขึ้น
๔. ตรวจการหายใจ โดยสังเกตการเคลื่อนไหวของหน้าอก และ ลมหายใจ ใช้หลักตาดู หูฟัง แก้มสัมผัส
๕. ตรวจหาการบาดเจ็บ โดยตรวจตั้งแต่ศีรษะ จรดปลายเท้า
ขั้นตอนการกู้ฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่
๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัวโดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บ และตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ และพลิกผู้ป่วยเจ็บให้นอนหงายราบบนพื้นเรียบแข็ง
๓. ถ้าผู้ป่วยเจ็บไม่ตอบสนอง ให้ช่วยการไหลเวียนโลหิตโดยการกดหน้าอก 30 ครั้ง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที กดลึก ๒ นิ้ว หรือ ๕ เซนติเมตร (ใช้มือข้างหนึ่งวางและใช้มืออีกข้างวางทับ แล้วใช้ส้นมือกดที่กึ่งกลางหน้าอก )
๔. เปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้หน้าแหงนขึ้น และช่วยหายใจ โดยการเป่าปาก ๒ ครั้ง ครั้งละ ๑ วินาที
๕. หลังจากนั้นให้กดหน้าอกสลับกับการเป่าปาก ด้วยอัตรา ๓๐ ต่อ ๒ (นับเป็น ๑ รอบ) ประเมินผลการกู้ชีพทุก ๕ รอบ (ใช้เวลา ๒ นาที)
ในกรณีที่มีผู้ปฏิบัติการกู้ชีพมาช่วยเหลือเพิ่มขึ้น ควรสลับหน้าที่ของผู้ที่กดหน้าอก กับผู้ที่เป่าปากทุก ๒ นาที หรือทุก ๕ รอบ
หมายเหตุ: ในกรณีไม่สามารถช่วยเป่าปากได้ สามารถใช้การกดหน้าอกอย่างต่อเนื่อง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที
1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น (ตะโกน โยน ยื่น)จากการฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)พร้อมทั้งได้ทดสอบเป็นรายกลุ่มซึ่งทุกคนสามารถทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 โดยมีเนื้อหาการอบรมดังนี้
ทักษะในการช่วยเหลือตนเองในท่าต่างๆ เช่น
* ท่าลอยตัว มี 4 ท่า ได้แก่ ท่าปลาดาวหงาย ท่าปลาดาวคว่ำ ท่าแมงกะพรุน และท่าเต่า
* ท่าว่ายน้ำเอาชีวิตรอด มี 2 ท่า ได้แก่ ท่าหมาตกน้ำ และท่ากรรเชียงหงาย
ซึ่งก่อนที่จะทำท่าต่างๆ แกนนำด้านสุขภาพ ได้ฝึกการกำหนดลมหายใจใต้น้ำ และฝึกการเป่าลมใต้น้ำ ถึงแม้บางคนอาจจะทำได้ช้าแต่ทุกคนก็สามารถทำได้ทุกคน
ทักษะในการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. ตะโกนขอความช่วยเหลือ ว่า “ช่วยด้วยๆมีคนตกน้ำ”
2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อให้คนตกน้ำเกาะจับพยุงตัว เช่น เชือก ถังแกนลอนพลาสติก ขวดพลาสติก หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้
3. ยื่นสิ่งของยาวๆที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่ง แล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่ตกน้ำและดึงขึ้นฝั่ง
แกนนำด้านสุขภาพได้ทำการปฏิบัติจริงในการใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อช่วยเหลือ
คนตกน้ำ ดังนี้
1. การโยนได้แก่
1.1 การโยนเชือก
* ท่ายืน โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ข้างเท้าที่ถนัดจับปลายเชือกไว้ มืออีกด้านถือเชือกไว้พร้อมที่จะโยน การโยนเชือกให้โยนเลยเหนือศีรษะคนตกน้ำระหว่างช่วงไหล่ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ
1.2 การโยนห่วงชูชีพ
* ท่าโยนเหนือศีรษะโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพยกขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมทั้งโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง
ขาหลังงอ
* ท่าโยนใต้ขาโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพถือไว้ระหว่างขาแล้วโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ
- ท่าโยนมือเดียว โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ถนัดจับห่วงชูชีพ แล้วกางแขนออกประมาณ 45 องศา โยนห่วงชูชีพไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง
ขาหน้าตึงขาหลังงอ
1.3 การโยน Rescue Tubeโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับRescue Tube แล้วโยน Rescue Tube ไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง
ขาหลังงอ
- การยื่น ได้แก่
2.1 การยื่นไม้
* ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ในท่าที่ถนัด แล้วย่อขาด้านหน้าลง ขาหลังตึง พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
* ท่านั่งโดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
* ท่านอนโดยให้นอนคว่ำ แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ยื่นไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้คนช่วยพลิกตัวตะแคงและสาวไม้ดึงคนตกน้ำขึ้นมา
2.2 การยื่น Rescue Tube
* ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับRescue Tube แล้วย่อขาด้านหน้าลงพร้อมทั้งยื่น Rescue Tube ไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวRescue Tube ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
* ท่านั่ง โดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปหน้าคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
1.4 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์ จากการประเมินการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) พบว่า แกนนำด้านสุขภาพ ได้ทำการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) เป็นรายกลุ่ม โดยแกนนำสุขภาพในแต่ละกลุ่ม สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งสติ มีผู้ควบคุมสถานการณ์ ความปลอดภัยของผู้ประสบอุบัติเหตุ การประเมินสถานการณ์ การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การแบ่งภาระหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ การจัดลำดับความรุนแรงผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ รวมทั้งการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ซึ่งแกนนำสุขภาพได้ผ่านการประเมินทุกคน คิดเป็นรายกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้82 คะแนน กลุ่มที่ 2 ได้ 90 คะแนน กลุ่มที่ 3 ได้ 93 คะแนนกลุ่มที่ 4 ได้ 87 คะแนน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 88บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 4
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพ ความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล ร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR)
ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) ร้อยละ 80
0.00
3
เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)
ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น) ) ร้อยละ 80
0.00
4
เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์
ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์ ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล (2) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) (3) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น) (4) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) (2) อบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ (3) อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม (4) กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ (5) อบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ (6) กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ (7) อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 61-L7580-2-05 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L7580-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L7580-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L7580-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 129,963.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจาก โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุบนถนน อุบัติเหตุการจมน้ำ ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวะการหยุดหายใจกะทันหันถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธีจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ดังนั้นการอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จึงเป็นหลักสูตรที่สำคัญซึ่งจะทำให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝนอย่างชำนาญ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้อื่นได้ในภาวะฉุกเฉิน นอกจากนี้สถานการณ์ในเขตตำบลฉลุง พบว่ายังมีอุบัติเหตุต่างๆเกิดขึ้นบ่อยครั้งไม่ว่าจะเป็นการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน การเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ การตกจากที่สูง เช่น ต้นไม้ , อาคาร ทำให้ได้รับบาดเจ็บ ทุพพลภาพ จนกระทั่งเสียชีวิต ซึ่งในรอบ 3 ปี มีการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 4,057 ครั้ง ซึ่งเป็นทุพพลภาพ จำนวน 17 คน ได้รับบาดเจ็บ จำนวน 5065 คน และเสียชีวิต จำนวน 120 คน โดยสาเหตุจากการเกิดอุบัติเหตุนั้นมีมากมาย เช่น ความประมาทในการกระทำของตนเอง ขาดความระมัดระวัง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เกิดจากสภาพแวดล้อม ไม่รู้จักการป้องกันตนเอง เป็นต้น เทศบาลตำบลฉลุง โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) สำหรับแกนนำด้านสุขภาพ เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพที่เป็นกำลังหลักในการดำเนินงานสาธารณสุขในพื้นที่ ในชุมชนได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝนอย่างชำนาญ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ช่วยเหลือผู้อื่นได้ในภาวะฉุกเฉินก่อนนำส่งสถานพยาบาลต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR)
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)
- เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น)
- อบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ
- อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม
- กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
- อบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ
- กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์
- อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล
- แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) และทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)
- แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน
- แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) และทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทักษะในการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ตะโกนขอความช่วยเหลือ ว่า “ช่วยด้วยๆมีคนตกน้ำ” 2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อให้คนตกน้ำเกาะจับพยุงตัว เช่น เชือก ถังแกนลอนพลาสติก ขวดพลาสติก หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้ 3. ยื่นสิ่งของยาวๆที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่ง แล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่ตกน้ำและดึงขึ้นฝั่ง โดยในแต่ละกลุ่มสามารถช่วยเหลือตนเองจากการประสบอุบัติเหตุได้เป็นอย่างดี
|
40 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลโดยการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลมีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ
โดยใช้เกณฑ์แปลผล ดังนี้ ตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม เกณฑ์แปลผล ทดสอบความรู้ ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ มากที่สุด 0 0 27 67.5 มาก 5 12.5 6 15 ปานกลาง 27 67.5 7 17.5 น้อย 5 12.5 0 0 น้อยที่สุด 3 7.5 0 0 รวม 40 100 40 100 จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ระดับปานกลาง จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 และระดับน้อยที่สุด จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5หลังการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 และระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5 ก่อนการอบรม หลังการอบรม
คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ
7 5 12.5 10 15 37.5
6 9 22.5 9 12 3
5 18 45 8 3 7.5
4 3 7.5 7 3 7.5
3 2 5 6 6 15
2 3 7.5 5 1 2.5
รวม 40 100 รวม 40 100
|
40 | 0 |
3. กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการแสดงสปิหริดของตนเองออกมาโดยการออกกำลังกายบาซาโรบและทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
|
40 | 0 |
4. อบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) จากการประเมินทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ผู้ป่วยที่หมดสติ โดยทุกคนสามารถฝึกปฏิบัติขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)คนหมดสติ คิดเป็น
ร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้
การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) หรือ การกู้ชีวิต หรือการกู้ชีพ หมายถึง การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ที่หยุดทำงานอย่างกะทันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง
วัตถุประสงค์ของการช่วยฟื้นคืนชีพ
1. เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ
2. ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ
3. คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
4. ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว
ซึ่งเมื่อเราพบคนหมดสติ สิ่งแรกที่ควรมี คือ สติ และสิ่งที่สำคัญ คือ ความปลอดภัยของผู้ให้การช่วยเหลือและผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือแล้วจะประเมินสถานการณ์หรือประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วยเจ็บเบื้องต้น
๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัว โดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บและตีที่ไหล่เบา ๆ
|
40 | 0 |
5. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น (ตะโกน โยน ยื่น)จากการฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)พร้อมทั้งได้ทดสอบเป็นรายกลุ่มซึ่งทุกคนสามารถทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 โดยมีเนื้อหาการอบรมดังนี้
ทักษะในการช่วยเหลือตนเองในท่าต่างๆ เช่น
* ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ในท่าที่ถนัด แล้วย่อขาด้านหน้าลง ขาหลังตึง พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ * ท่านั่งโดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง * ท่านอนโดยให้นอนคว่ำ แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ยื่นไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้คนช่วยพลิกตัวตะแคงและสาวไม้ดึงคนตกน้ำขึ้นมา 2.2 การยื่น Rescue Tube * ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับRescue Tube แล้วย่อขาด้านหน้าลงพร้อมทั้งยื่น Rescue Tube ไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวRescue Tube ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ * ท่านั่ง โดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปหน้าคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
|
40 | 0 |
6. กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มแกนนำด้านสุขภาพที่รับการอบรมสามารถทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันได้เป็นอย่างดี
|
40 | 0 |
7. อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์ จากการประเมินการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) พบว่า แกนนำด้านสุขภาพ ได้ทำการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) เป็นรายกลุ่ม โดยแกนนำสุขภาพในแต่ละกลุ่ม สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งสติ มีผู้ควบคุมสถานการณ์ ความปลอดภัยของผู้ประสบอุบัติเหตุ การประเมินสถานการณ์ การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การแบ่งภาระหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ การจัดลำดับความรุนแรงผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ รวมทั้งการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ซึ่งแกนนำสุขภาพได้ผ่านการประเมินทุกคน คิดเป็นรายกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้82 คะแนน กลุ่มที่ 2 ได้ 90 คะแนน กลุ่มที่ 3 ได้ 93 คะแนนกลุ่มที่ 4 ได้ 87 คะแนน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 88บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 4
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
แกนนำด้านสุขภาพเข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 40 คนคิดเป็นร้อยละ 100
1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลโดยการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลมีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ
โดยใช้เกณฑ์แปลผล ดังนี้
1. ระดับคะแนน 9-10 แปลผลว่า มากที่สุด
2.ระดับคะแนน 7-8 แปลผลว่า มาก
3.ระดับคะแนน 5-6 แปลผลว่า ปานกลาง
4.ระดับคะแนน 3-4 แปลผลว่า น้อย
5.ระดับคะแนน 1-2 แปลผลว่า น้อยที่สุด
ตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม
เกณฑ์แปลผล ทดสอบความรู้ ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ มากที่สุด 0 0 27 67.5 มาก 5 12.5 6 15 ปานกลาง 27 67.5 7 17.5 น้อย 5 12.5 0 0 น้อยที่สุด 3 7.5 0 0 รวม 40 100 40 100
จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ระดับปานกลาง จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 และระดับน้อยที่สุด จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5หลังการอบรมแกนนำด้านสุขภาพความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 และระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5
ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม
ก่อนการอบรม หลังการอบรม
คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ
7 5 12.5 10 15 37.5
6 9 22.5 9 12 3
5 18 45 8 3 7.5
4 3 7.5 7 3 7.5
3 2 5 6 6 15
2 3 7.5 5 1 2.5
รวม 40 100 รวม 40 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมแกนนำด้านสุขภาพได้คะแนนสูงสุดที่ 7 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 รองลงมา 6 คะแนน จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 คะแนนน้อยที่สุดที่ 2 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 5 คะแนน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 หลังการอบรมแกนนำด้านสุขภาพ ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3คะแนนน้อยที่สุดที่ 5 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 10 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100
นอกจากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง แล้ว แกนนำด้านสุขภาพได้แบ่งกลุ่มลงมือปฏิบัติในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยการใช้ผ้าสามเหลี่ยมพันแผลเมื่อได้รับบาดเจ็บในส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น ได้รับบาดเจ็บบริเวณส่วนบนศรีษะ ส่วนด้านข้างศรีษะ ส่วนแขน ส่วนมือ และส่วนไหล่ ได้ถูกต้อง ครบถ้วนทุกคนคิดเป็นร้อยละ 100
จึงสามารถสรุปได้ว่า แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาลคิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) จากการประเมินทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ผู้ป่วยที่หมดสติ โดยทุกคนสามารถฝึกปฏิบัติขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)คนหมดสติ คิดเป็น
ร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้
การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) หรือ การกู้ชีวิต หรือการกู้ชีพ หมายถึง การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ที่หยุดทำงานอย่างกะทันหัน เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง
วัตถุประสงค์ของการช่วยฟื้นคืนชีพ
1. เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ
2. ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ
3. คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
4. ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเต้นใหม่แล้ว
ซึ่งเมื่อเราพบคนหมดสติ สิ่งแรกที่ควรมี คือ สติ และสิ่งที่สำคัญ คือ ความปลอดภัยของผู้ให้การช่วยเหลือและผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือแล้วจะประเมินสถานการณ์หรือประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วยเจ็บเบื้องต้น
๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัว โดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บและตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ
๓. ตรวจทางเดินหายใจ นำสิ่งแปลกปลอมและฟันปลอมออกจากปาก แล้วเปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง ของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้แหงนหน้าขึ้น
๔. ตรวจการหายใจ โดยสังเกตการเคลื่อนไหวของหน้าอก และ ลมหายใจ ใช้หลักตาดู หูฟัง แก้มสัมผัส
๕. ตรวจหาการบาดเจ็บ โดยตรวจตั้งแต่ศีรษะ จรดปลายเท้า
ขั้นตอนการกู้ฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่
๑. ตรวจระดับความรู้สึกตัวโดยการเรียกผู้ป่วยเจ็บ และตีที่ไหล่เบา ๆ
๒. ร้องขอความช่วยเหลือ และพลิกผู้ป่วยเจ็บให้นอนหงายราบบนพื้นเรียบแข็ง
๓. ถ้าผู้ป่วยเจ็บไม่ตอบสนอง ให้ช่วยการไหลเวียนโลหิตโดยการกดหน้าอก 30 ครั้ง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที กดลึก ๒ นิ้ว หรือ ๕ เซนติเมตร (ใช้มือข้างหนึ่งวางและใช้มืออีกข้างวางทับ แล้วใช้ส้นมือกดที่กึ่งกลางหน้าอก )
๔. เปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างหนึ่งเชยคางให้หน้าแหงนขึ้น และช่วยหายใจ โดยการเป่าปาก ๒ ครั้ง ครั้งละ ๑ วินาที
๕. หลังจากนั้นให้กดหน้าอกสลับกับการเป่าปาก ด้วยอัตรา ๓๐ ต่อ ๒ (นับเป็น ๑ รอบ) ประเมินผลการกู้ชีพทุก ๕ รอบ (ใช้เวลา ๒ นาที)
ในกรณีที่มีผู้ปฏิบัติการกู้ชีพมาช่วยเหลือเพิ่มขึ้น ควรสลับหน้าที่ของผู้ที่กดหน้าอก กับผู้ที่เป่าปากทุก ๒ นาที หรือทุก ๕ รอบ
หมายเหตุ: ในกรณีไม่สามารถช่วยเป่าปากได้ สามารถใช้การกดหน้าอกอย่างต่อเนื่อง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า ๑๐๐ ครั้งต่อนาที
1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น (ตะโกน โยน ยื่น)จากการฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น)พร้อมทั้งได้ทดสอบเป็นรายกลุ่มซึ่งทุกคนสามารถทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 โดยมีเนื้อหาการอบรมดังนี้
ทักษะในการช่วยเหลือตนเองในท่าต่างๆ เช่น
* ท่าลอยตัว มี 4 ท่า ได้แก่ ท่าปลาดาวหงาย ท่าปลาดาวคว่ำ ท่าแมงกะพรุน และท่าเต่า
* ท่าว่ายน้ำเอาชีวิตรอด มี 2 ท่า ได้แก่ ท่าหมาตกน้ำ และท่ากรรเชียงหงาย
ซึ่งก่อนที่จะทำท่าต่างๆ แกนนำด้านสุขภาพ ได้ฝึกการกำหนดลมหายใจใต้น้ำ และฝึกการเป่าลมใต้น้ำ ถึงแม้บางคนอาจจะทำได้ช้าแต่ทุกคนก็สามารถทำได้ทุกคน
ทักษะในการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. ตะโกนขอความช่วยเหลือ ว่า “ช่วยด้วยๆมีคนตกน้ำ”
2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อให้คนตกน้ำเกาะจับพยุงตัว เช่น เชือก ถังแกนลอนพลาสติก ขวดพลาสติก หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้
3. ยื่นสิ่งของยาวๆที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่ง แล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่ตกน้ำและดึงขึ้นฝั่ง
แกนนำด้านสุขภาพได้ทำการปฏิบัติจริงในการใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อช่วยเหลือ
คนตกน้ำ ดังนี้
1. การโยนได้แก่
1.1 การโยนเชือก
* ท่ายืน โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ข้างเท้าที่ถนัดจับปลายเชือกไว้ มืออีกด้านถือเชือกไว้พร้อมที่จะโยน การโยนเชือกให้โยนเลยเหนือศีรษะคนตกน้ำระหว่างช่วงไหล่ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ
1.2 การโยนห่วงชูชีพ
* ท่าโยนเหนือศีรษะโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพยกขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมทั้งโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง
ขาหลังงอ
* ท่าโยนใต้ขาโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับห่วงชูชีพถือไว้ระหว่างขาแล้วโยนไปด้านหน้าของคนตกน้ำ ขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึงขาหลังงอ
- ท่าโยนมือเดียว โดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือที่ถนัดจับห่วงชูชีพ แล้วกางแขนออกประมาณ 45 องศา โยนห่วงชูชีพไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง
ขาหน้าตึงขาหลังงอ 1.3 การโยน Rescue Tubeโดยยืนกางขาออกให้ขาที่ถนัดอยู่ด้านหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง เพื่อการทรงตัวที่ดี ใช้มือทั้งสองข้างจับRescue Tube แล้วโยน Rescue Tube ไปด้านหน้าของคนตกน้ำขณะดึงให้ย่อขาหน้าที่ถนัด ขาหลังตึงแล้วดึงขึ้นมา ระหว่างดึงให้เอนตัวไปข้างหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ
- การยื่น ได้แก่ 2.1 การยื่นไม้
* ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ในท่าที่ถนัด แล้วย่อขาด้านหน้าลง ขาหลังตึง พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ * ท่านั่งโดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปด้านข้างแล้วกวาดเข้าหาตัวคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้สาวไม้นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง * ท่านอนโดยให้นอนคว่ำ แล้วใช้มือทั้งสองข้างจับปลายไม้ไว้ยื่นไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับไม้ได้ ให้คนช่วยพลิกตัวตะแคงและสาวไม้ดึงคนตกน้ำขึ้นมา 2.2 การยื่น Rescue Tube * ท่ายืนโดยนำขาที่ถนัดก้าวไปข้างหน้า ขาที่ไม่ถนัดไว้ด้านหลัง ใช้มือทั้งสองข้างจับRescue Tube แล้วย่อขาด้านหน้าลงพร้อมทั้งยื่น Rescue Tube ไปยังคนจมน้ำ เมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวRescue Tube ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง ขาหลังงอ * ท่านั่ง โดยนั่งคุกเข่า 1 ข้าง ส่วนอีกข้างขาที่ถนัดให้ตั้งตรง ใช้มือทั้งสองข้างปลายไม้ไว้แนบข้างลำตัวข้างที่คุกเข่า พร้อมทั้งก้มตัวและยื่นไม้ไปหน้าคนตกน้ำเมื่อคนตกน้ำจับRescue Tube ได้ ให้สาวRescue Tube นำคนตกน้ำขึ้นมา ขณะสาวไม้ให้เอนตัวไปด้านหลัง ขาหน้าตึง และวางก้นไว้บนขาหลัง
1.4 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์ จากการประเมินการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) พบว่า แกนนำด้านสุขภาพ ได้ทำการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ (จำลองเหตุการณ์) เป็นรายกลุ่ม โดยแกนนำสุขภาพในแต่ละกลุ่ม สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งสติ มีผู้ควบคุมสถานการณ์ ความปลอดภัยของผู้ประสบอุบัติเหตุ การประเมินสถานการณ์ การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ การแบ่งภาระหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ การจัดลำดับความรุนแรงผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ รวมทั้งการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ซึ่งแกนนำสุขภาพได้ผ่านการประเมินทุกคน คิดเป็นรายกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้82 คะแนน กลุ่มที่ 2 ได้ 90 คะแนน กลุ่มที่ 3 ได้ 93 คะแนนกลุ่มที่ 4 ได้ 87 คะแนน เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 88บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 4
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพ ความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น) ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น) ) ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์ ตัวชี้วัด : แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์ ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีความรู้ทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล (2) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะการฟื้นคืนชีพ (CPR) (3) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น(ตะโกน โยน ยื่น) (4) เพื่อให้แกนนำด้านสุขภาพสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่จากการจำลองเหตุการณ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือและผู้อื่นจากการจมน้ำ (ตะโกน โยน ยื่น) (2) อบรมให้ความรู้เรื่องทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการเคลื่อนย้ายผู้ประสบอุบัติเหตุก่อนส่งต่อโรงพยาบาล พร้อมฝึกปฏิบัติ (3) อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยเหลือตนเอง พร้อมประเมินทักษะเป็นรายกลุ่ม (4) กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ (5) อบรมการให้ความรู้เรื่องการฟื้นคืนชีพ (CPR) พร้อมฝึกปฏิบัติ (6) กิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ (7) อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อประสบอุบัติเหตุในชุมชน โดยการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่(จำลองเหตุการณ์ )เป็นรายกลุ่ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 61-L7580-2-05 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 61-L7580-2-05 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับแกนนำด้านสุขภาพ ในเขตเทศบาลตำบลฉลุง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L7580-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......