โครงการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ของประชาชน บ้านนาค้อใต้
ชื่อโครงการ | โครงการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ของประชาชน บ้านนาค้อใต้ |
รหัสโครงการ | 61-L2985-2-08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 บ้านนาค้อใต้ |
วันที่อนุมัติ | 23 พฤษภาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 29 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 7 กันยายน 2561 |
งบประมาณ | 8,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสารีปะ ดอเลาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.738,101.119place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในแต่ละช่วงอายุคน ความต้องการด้านสารอาหารของร่างกายมีความแตกต่างกัน วัยเด็กร่างกายต้องการสารอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและสร้างสติปัญญา วัยผู้ใหญ่เน้นสารอาหารที่สามารถเสริมสร้างกำลังกายและกำลังสมอง แต่สำหรับในวัย สารอาหารที่ร่างกายต้องการโดยส่วนมากแล้วเน้นเพื่อการคุ้มกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และป้องกันโรคภัยไข้เจ็บเป็นส่วนมาก การรับประทานอาหารของแต่ละช่วงอายุจึงมีความแตกต่างกัน รวมทั้งพฤติกรรมการรับประทานอาหารของแต่ละวัยก็มีความแตกต่างด้วยเช่นกัน วัยสูงอายุ เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายและด้านจิตใจ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายของ มีปัจจัยสำคัญ คือ ปัจจัยทางกรรมพันธุ์และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือภาวะโภชนาการและวิถีดำเนินชีวิต ด้วยวิถีการดำเนินชีวิตแบบง่ายๆ ของสังคม ความสำคัญของหลักโภชนาการที่ถูกต้องจึงยังเป็นเรื่องที่ไม่เข้าถึงมากนัก ส่วนมากมีพฤติกรรมการรับประทานที่ไม่ถูกหลักโภชนาการและสุขลักษณะ ส่งผลให้ร่างกายที่มีภูมิต้านทานอ่อนแออยู่แล้วนั้นมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคภัยไข้เจ็บได้ง่ายขึ้นอีก จะเห็นได้ว่าการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและสุขอนามัยมีความสำคัญ เน้นคำนึงถึงความต้องการสารอาหารของร่างกาย มีความหลากหลายและสมดุลพอเหมาะพอดี ไม่มากเกินไปจนการทำงานของระบบร่างกายผิดปกติหรือต้องไม่น้อยเกินเกิดภาวะขาดสารอาหาร นอกจากนี้การออกกำลังกาย การผ่อนคลายทางจิตใจรวมทั้งการหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นผลด้านเสียก็เป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการมีสุขภาพที่ดีของอีกด้วย ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับอาหารและโภชนาการ เนื่องจากระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของได้มีการเปลี่ยนแปลง อวัยวะแต่ละส่วนมีการทำงานด้อยลงไป รวมทั้งประสาทสัมผัสทั้ง ๕ เช่น การรับรู้รสและกลิ่นของอาหารได้ไม่ดี ทำให้ความอยากอาหารลดน้อยลงไป ประกอบกับปัญหาเรื่องเหงือกและฟันและระบบการย่อย การดูดซึมได้ไม่ดีเท่าทีควร จึงมักจะมีปัญหาสุขภาพต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ถ้าได้รับสารอาหารมากไปหรือไม่เพียงพออาจมีภาวะแทรกซ้อนของโรคภัยไข้เจ็บได้ เช่น โรคข้อกระดูกเสื่อม โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้สามารถป้องกันและแก้ไขได้ถ้าหรือผู้ที่มีความเกี่ยงข้องเอาใจใส่ดูแล แนะนำเกี่ยวกับการบริโภค
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในเรื่องโภชนาการ
|
0.00 | |
2 | 2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและสุขอนามัยเหมาะสมตามวัย
|
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
29 มิ.ย. 61 | อบรมให้ความรู้ | 50 | 8,700.00 | ✔ | 8,700.00 | |
27 ส.ค. 61 | สำรวจพฤติกรรม การทำอาหาร | 50 | 0.00 | - | ||
รวม | 100 | 8,700.00 | 1 | 8,700.00 |
- จัดการประชุมเพื่อชี้แจงแผนการดำเนินงานและมอบหมายงานแก่คณะทำงาน
- ดำเนินการอบรมโครงการ
- ทำแบบทดสอบ “ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและพฤติกรรมการรับประทานอาหารของประชาชน”
- สรุปและประเมินผลโครงการ
- ติดตามผลการดำเนินโครงการ
- ประชาชนมีความรู้ในเรื่องโภชนาการและการเลือกรับประทานอาหารมากขึ้น
- มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและสุขอนามัยเหมาะสม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2561 11:27 น.