การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอภิชดา สุคนธปติภาค
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-17 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่
บทคัดย่อ
โครงการ " การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อุบัติเหตุจราจรทางถนนเป็นเรื่องสำคัญ นครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ต้องเผชิญกับปัญหานี้ไม่แตกต่างจากที่อื่นๆ ของประเทศ มีการรายงานโดยโรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งเป็น ๑ ใน ๒๘ โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บ ในระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บระดับชาติของสํานัก ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๕๔๘ มีผู้เสียชีวิตจากการชนที่ เกิดขึ้นในเมืองหาดใหญ่เฉลี่ยปีละกว่า ๑๐๐ ราย บาดเจ็บสาหัสเฉลี่ยกว่า ๑,๔๐๐ คน บาดเจ็บเล็กน้อยเฉลี่ยกว่า ๔,๕๐๐ ราย และเกือบ ๑๐ ปีที่ผ่านมาหลังจากนั้นจวบถึงปัจจุบัน อัตรานี้ก็ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงนักซึ่งอุบัติเหตุเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยไม่คาดคิดหรือไม่ได้ระมัดระวังมาก่อน อุบัติเหตุอาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา และทุกสถานที่เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น จะทำให้สูญเสียทรัพย์สิน และอาจเสียชีวิตได้อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกิดจาก 2 สาเหตุสำคัญ คือ เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงของคนเรา เช่น ความประมาทเลินเล่อการขาดความรู้ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และเกิดจากสภาพแวดล้อมทั้งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นที่มีสภาพไม่ปลอดภัย อย่างไรก็ตาม อุบัติเหตุทุกประเภทสามารถป้องกันหรือลดระดับความรุนแรงของผลกระทบลงได้ หากทุกคนมีความระมัดระวังมีสติ และไม่ได้ตั้งสติอยู่ในความประมาท การป้องกันอุบัติเหตุจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคน ดังนั้นทางเทศบาลนครหาดใหญ่จึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบื้องต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน
- เพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุป้องกันการสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ
- เพื่อสามารถให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีเกิดอุบัติเหตุได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมผู้เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุทางบกและการช่วยเหลือเบื้องต้น
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการระเบียบวินัยกฏจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอาประกันภัย และการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการฝึกปฏิบัติในการช่วยเหลือเบื้องต้น
- ติดตามและประเมินผลโครงการ
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้ และรู้เกี่ยวกับวิธีการลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน มีความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางท้องถนนเบื้องต้น และสามารถนำมาปฏิบัติจริงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุทางบกและการช่วยเหลือเบื้องต้น
วันที่ 23 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคนในการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เจ้าหน้าที่รู้ว่าจะต้องทำอะไรบ้างในการดำเนินกิจกรม
10
0
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการระเบียบวินัยกฏจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอาประกันภัย และการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการฝึกปฏิบัติในการช่วยเหลือเบื้องต้น
วันที่ 25 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการอบรม
โครงการ “การป้องกันอุบัติเหตุและการช่วยเหลือเบื้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่”
วันที่ 25 สิงหาคม 2561
ณ ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาล 4 (วัดคลองเรียน)
เวลา กิจกรรม
08.00 น. - 08.30 น. • ลงทะเบียน
08.30 น. - 08.45 น. • พิธีเปิด โดยนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่
08.45 น. - 10.45 น. • บรรยายเรื่อง “ระเบียบวินัยกฎจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน” โดยวิทยากรสถานีตำรวจอำเภอหาดใหญ่
10.45 น. - 11.00 น. • พักรับประทานอาหารว่าง
11.00 น. - 12.00 น. • บรรยายเรื่อง “ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ ผู้เอาประกันภัย ” โดยวิทยากรจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
12.00 น. - 13.00 น. • พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. - 14.00 น. • บรรยายเรื่อง “การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น” โดยวิทยากรจากคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
14.00 น. -14.15 น. • พักรับประทานอาหารว่าง
14.15 น. -16.15 น. • บรรยายเรื่อง “การฝึกปฏิบัติในการช่วยเหลือเบื้องต้น” (ต่อ)
โดยวิทยากรจากคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
16.15 น. – 16.30 น. • บรรยายสรุป / ปิดการอบรม
************************************************
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้เมื่อเกิดอุบัติเหตุ
315
0
3. ติดตามและประเมินผลโครงการ
วันที่ 22 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการทั้งหมด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รู้ว่ากิจกรรมดำเนินเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุและการช่วยเหลือเบื้องต้น
0
0
4. สรุปผลการดำเนินโครงการ
วันที่ 22 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลการดำเนินการของโครงการทั้งหมด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ทราบรายละเอียดของโครงการว่าใช้จ่ายไปเท่าไร
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
0.00
2
เพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุป้องกันการสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน
0.00
3
เพื่อสามารถให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีเกิดอุบัติเหตุได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุป้องกันการสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ (3) เพื่อสามารถให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีเกิดอุบัติเหตุได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุทางบกและการช่วยเหลือเบื้องต้น (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการระเบียบวินัยกฏจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอาประกันภัย และการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการฝึกปฏิบัติในการช่วยเหลือเบื้องต้น (3) ติดตามและประเมินผลโครงการ (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอภิชดา สุคนธปติภาค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอภิชดา สุคนธปติภาค
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-17 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่
บทคัดย่อ
โครงการ " การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อุบัติเหตุจราจรทางถนนเป็นเรื่องสำคัญ นครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ต้องเผชิญกับปัญหานี้ไม่แตกต่างจากที่อื่นๆ ของประเทศ มีการรายงานโดยโรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งเป็น ๑ ใน ๒๘ โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บ ในระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บระดับชาติของสํานัก ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๕๔๘ มีผู้เสียชีวิตจากการชนที่ เกิดขึ้นในเมืองหาดใหญ่เฉลี่ยปีละกว่า ๑๐๐ ราย บาดเจ็บสาหัสเฉลี่ยกว่า ๑,๔๐๐ คน บาดเจ็บเล็กน้อยเฉลี่ยกว่า ๔,๕๐๐ ราย และเกือบ ๑๐ ปีที่ผ่านมาหลังจากนั้นจวบถึงปัจจุบัน อัตรานี้ก็ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงนักซึ่งอุบัติเหตุเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยไม่คาดคิดหรือไม่ได้ระมัดระวังมาก่อน อุบัติเหตุอาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา และทุกสถานที่เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น จะทำให้สูญเสียทรัพย์สิน และอาจเสียชีวิตได้อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกิดจาก 2 สาเหตุสำคัญ คือ เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงของคนเรา เช่น ความประมาทเลินเล่อการขาดความรู้ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และเกิดจากสภาพแวดล้อมทั้งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นที่มีสภาพไม่ปลอดภัย อย่างไรก็ตาม อุบัติเหตุทุกประเภทสามารถป้องกันหรือลดระดับความรุนแรงของผลกระทบลงได้ หากทุกคนมีความระมัดระวังมีสติ และไม่ได้ตั้งสติอยู่ในความประมาท การป้องกันอุบัติเหตุจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคน ดังนั้นทางเทศบาลนครหาดใหญ่จึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบื้องต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน
- เพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุป้องกันการสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ
- เพื่อสามารถให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีเกิดอุบัติเหตุได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมผู้เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุทางบกและการช่วยเหลือเบื้องต้น
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการระเบียบวินัยกฏจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอาประกันภัย และการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการฝึกปฏิบัติในการช่วยเหลือเบื้องต้น
- ติดตามและประเมินผลโครงการ
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้ และรู้เกี่ยวกับวิธีการลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน มีความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางท้องถนนเบื้องต้น และสามารถนำมาปฏิบัติจริงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุทางบกและการช่วยเหลือเบื้องต้น |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคนในการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเจ้าหน้าที่รู้ว่าจะต้องทำอะไรบ้างในการดำเนินกิจกรม
|
10 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการระเบียบวินัยกฏจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอาประกันภัย และการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการฝึกปฏิบัติในการช่วยเหลือเบื้องต้น |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำกำหนดการอบรม
โครงการ “การป้องกันอุบัติเหตุและการช่วยเหลือเบื้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่”
วันที่ 25 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาล 4 (วัดคลองเรียน) เวลา กิจกรรม
08.00 น. - 08.30 น. • ลงทะเบียน
08.30 น. - 08.45 น. • พิธีเปิด โดยนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่
08.45 น. - 10.45 น. • บรรยายเรื่อง “ระเบียบวินัยกฎจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน” โดยวิทยากรสถานีตำรวจอำเภอหาดใหญ่
10.45 น. - 11.00 น. • พักรับประทานอาหารว่าง
11.00 น. - 12.00 น. • บรรยายเรื่อง “ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ ผู้เอาประกันภัย ” โดยวิทยากรจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้เมื่อเกิดอุบัติเหตุ
|
315 | 0 |
3. ติดตามและประเมินผลโครงการ |
||
วันที่ 22 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำสรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการทั้งหมด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รู้ว่ากิจกรรมดำเนินเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุและการช่วยเหลือเบื้องต้น
|
0 | 0 |
4. สรุปผลการดำเนินโครงการ |
||
วันที่ 22 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำสรุปผลการดำเนินการของโครงการทั้งหมด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ทราบรายละเอียดของโครงการว่าใช้จ่ายไปเท่าไร
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุป้องกันการสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสามารถให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีเกิดอุบัติเหตุได้ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุป้องกันการสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ (3) เพื่อสามารถให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีเกิดอุบัติเหตุได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันอุบัติเหตุทางบกและการช่วยเหลือเบื้องต้น (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการระเบียบวินัยกฏจราจรและความปลอดภัยบนท้องถนน ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอาประกันภัย และการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้นและการฝึกปฏิบัติในการช่วยเหลือเบื้องต้น (3) ติดตามและประเมินผลโครงการ (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การป้องกันอุบัติเหตุ และการช่วยเหลือเบี้องต้น ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอภิชดา สุคนธปติภาค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......