กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอภิชดา สุคนธปติภาค

ชื่อโครงการ การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพอิสระเช่น ช่างเสริมสวย ช่างซ่อมรถยนต์ อาชีพรับซื้อของเก่า คนคัดแยกขยะ คนรับเหมาพ่นหมอกควัน พนักงานปั๊มน้ำมัน และ คนขับรถโดยสารประจำทางเป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว โรคจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพคือโรคใดๆ (อาจเป็นได้ทั้งโรคเฉียบพลันหรือโรคเรื้อรัง) อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ หรือการดำเนินกิจกรรมอื่นใดซึ่งเกี่ยวเนื่องกับอาชีพเช่นอาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อพิษจากสารตะกั่ว โรคทางเดินหายใจ เครียด โรคติดเชื้อต่างๆ เป็นต้นข้อมูลสถานการณ์การเจ็บป่วยจากการทำงานเมื่อ พ.ศ.2551 พบว่า มีผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงานทั่วประเทศจำนวน 176,502 ราย จำแนกเป็นผู้ป่วยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำนวน 111,740 ราย รองลงมาได้แก่ ภาคกลาง จำนวน 40,892 ราย ภาคใต้ จำนวน 8,220 ราย และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 7,485 ราย
ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าการลงทุนในการทำงานที่จะได้ผลตอบแทนกลับมาในรูปตัวเงินหรือรูปของทุนแบบอื่นๆเพื่อการผลิตหรือบริหารงานในรอบงานต่อไปและในการลงทุนก็มักจะเป็นการลงทุนในทรัพย์สินเช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรเครื่องใช้ที่จะทำให้เครื่องจักรเหล่านั้นทำงานได้ดีขึ้นเมื่อถึงเวลาก็มีการซ่อมบำรุงดูแลเพื่อให้ทำงานได้ดีต่อไปอีกแต่หากเรามาพิจารณาถึงพนักงานที่ทำงานอยู่ในหน่วยงานแล้วกลับไม่ได้รับการดูแลเท่าที่ควรกล่าวคือเมื่อเข้าทำงานก็มีการปฐมนิเทศมีการตรวจร่างกายทั่วไปเมื่อเจ็บป่วยก็มีสถานพยาบาลตามประกันสังคมหรือถ้าเจ็บป่วยจากการทำงานก็มีกองทุนเงินทดแทนให้ใช้ ในความเป็นจริงการดูแลเพียงเท่านี้ยังไม่เพียงพอเพราะพนักงานไม่เสื่อมค่าเหมือนเครื่องจักรแต่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นตามประสบการณ์และการเรียนรู้และเครื่องจักรก็ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ถ้าไม่พนักงานคอยควบคุมดูแลขณะที่พนักงานมีความสำคัญกว่าเครื่องจักรแต่มักไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและเต็มที่เท่าที่ควรจะเป็นแม้บางหน่วยงานจะมีกิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่พนักงานแต่การตรวจร่างกายเท่าที่ทำอยู่นั้นที่จริงแล้วไม่จำเป็นไม่ถูกต้องไม่เป็นผลดีต่อร่างกายและยังเป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายของหน่วยงานอีกด้วย เนื่องจากการตรวจร่างกาย เช่นการตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะการตรวจ x-ray ปอดส่วนใหญ่มักไม่พบสิ่งผิดปกติเพราะเป็นการตรวจคัดกรองเพื่อคนหาผู้ป่วยที่ไม่ตรงจุด แต่จากสถิติกลับพบว่าพนักงานเป็นโรคจากความเสียงในการทำงานที่ไม่เคยตรวจกันเลย นอกจากนี้การที่พนักงานเจ็บป่วย ไม่ว่าเจ็บป่วยจากการทำงานหรือไม่ก็ถือเป็นการสูญเสียทรัพยากรของหน่อยงาน เพราะนอกจากมูลค่าความเสียหายที่เกิดจากการหยุดงานแล้ว ยังสูญเสียโอกาสของพนักงานคนนั้น และยังสูญเสียมูลค่าทางเศรษฐกิจที่เสียไปกับการรักษาอาการเจ็บป่วยนั้นอีกดังนั้นจึงเห็นได้ว่าบุคลากรหรือพนักงานเป็นทรัพย์สินที่สำคัญของหน่วยงานการดูแลพนักงานจึงถือเป็นเรื่องสำคัญเท่ากับหรืออาจจะมากกว่าเครื่องจักร และหน่วยงานควรถือเป็นนโยบายสำคัญในการดูแลบุคลากรหรือพนักงานด้วย ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพและป้องกันโรคให้กับผู้ประกอบอาชีพอิสระจึงเป็นเรื่องสำคัญเทศบาลนครหาดใหญ่ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของผู้ประกอบอาชีพอิสระจึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานของผู้ประกอบอาชีพอิสระเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพ จึงจัดทำโครงการ “การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่” ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
  2. เพื่อลดความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.จัดทำโครงการการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงให้ความรู้เกี่ยวกับป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการโรคที่เกิดจากการทำงานและลดความเสี่ยงที่เกิดจากการทำงาน
  2. 1. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่
  3. 3.ติดตามและประเมินผลโครงการและกิจกรรม
  4. 4.สรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงานและในอนาคตความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงานลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่ทุกคนมีหน้าที่ที่รับผิดชอบในวันอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพ

 

10 0

2. 2.จัดทำโครงการการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงให้ความรู้เกี่ยวกับป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการโรคที่เกิดจากการทำงานและลดความเสี่ยงที่เกิดจากการทำงาน

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการอบรม โครงการ “การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่” วันที่  30 สิงหาคม  2561 ณ  ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาล 4 (วัดคลองเรียน)


        เวลา                                                                      กิจกรรม 08.00 น. - 08.30 น. • ลงทะเบียน 08.30 น. - 08.45 น. • พิธีเปิด โดยนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่ 08.45 น. - 10.45 น. • การทดสอบสมรรถภาพร่างกายเบื้องต้น จากสำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทยภาค 4 (พรุค้างคาว)
10.45 น. - 11.00 น. • พักรับประทานอาหารว่าง 11.00 น. - 12.00 น. • บรรยายเรื่อง “โรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพ” โดยวิทยากรจาก  สำนักงานควบคุมโรคที่ 12 สงขลา 12.00 น. - 13.00 น. • พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - 14.00 น. • บรรยายเรื่อง “การใช้อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการทำงานให้ปลอดภัย” โดยวิทยากรจากสำนักงานควบคุมโรคที่ 12 สงขลา 14.00 น. -14.15 น. • พักรับประทานอาหารว่าง 14.15 น. -16.15 น. • บรรยายเรื่อง “สิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตน”โดยวิทยากรจาก สำนักงานประกันสังคมจังหวัดสงขลาสาขาอำเภอหาดใหญ่ 16.15 น. – 16.30 น. • บรรยายสรุป / ปิดการอบรม                                             ************************************************

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ความเข้าใจที่ได้รับสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

215 0

3. 3.ติดตามและประเมินผลโครงการและกิจกรรม

วันที่ 22 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายละเอียดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน

 

0 0

4. 4.สรุปโครงการ

วันที่ 22 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายละเอียดโครงการที่ดำเนินการทั้งหมด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้ความเข้าใจโรคที่มาจากการทำงาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
0.00

 

2 เพื่อลดความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : ความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงานลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน (2) เพื่อลดความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.จัดทำโครงการการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงให้ความรู้เกี่ยวกับป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการโรคที่เกิดจากการทำงานและลดความเสี่ยงที่เกิดจากการทำงาน (2) 1. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องวางแผนจัดทำโครงการการป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ (3) 3.ติดตามและประเมินผลโครงการและกิจกรรม (4) 4.สรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอภิชดา สุคนธปติภาค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด