โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานองค์กรสานฝันชะมวง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัจจุบัน โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่า เยาวชนมีแนวโน้มอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรค หนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี มากขึ้นกว่าคนปกติ 3-9 เท่า ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมทางเพศที่ ไม่ปลอดภัยโดยพบว่าอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมา ยังต่ำอยู่ เพียงร้อยละ ๔๖.๙ เท่านั้น
ผลกระทบประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ ซึ่งจากสถิติในปี 2554 พบว่าวัยรุ่นหญิงของไทยอายุ 10-19 ปี คลอดบุตรจำนวน 131,400 คน ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ คิดว่าการร่วมเพศครั้งเดียวแล้วจะไม่ตั้งครรภ์ การใช้ถุงยางอนามัยจะขัดขวางความรู้สึกทางเพศ โดยร้อยละ 80 เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ทำให้วัยรุ่นตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์หรือทำแท้ง ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ปลอดภัย เสี่ยงอันตรายและอาจเสียชีวิตได้ และยังพบว่า มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นด้วย ประเทศไทยมีแผนยุทธศาสตร์เอดส์แห่งชาติ ปี พ.ศ. 2555-2559วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ประกอบด้วย
-ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ : ภายในปี 2559 ผู้ติดเชื้อรายใหม่ลดลง 2 ใน 3 และอัตราการติดเชื้อทารกแรกคลอดน้อยกว่า ร้อยละ 2
-ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ : ภายในปี 2559 ผู้ติดเชื้อเข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม เสียชีวิตลดลงมากกว่าร้อยละ 50 และเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรคลดลงมากกว่า ร้อยละ 50
-ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ : ภายในปี 2559 กฎหมายและนโยบายที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาพยาบาลได้รับการแก้ไข ผู้ติดเชื้อและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลักถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
จากสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในอำเภอควนขนุน ส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับปัญหาเรื่องเอดส์และผลกระทบ ซึ่งสังเกตได้จากรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละปี การบรรจุแผนปฏิบัติงานไว้ในแผนประจำปี หรือแผนฯ ๓ ปี ไม่ได้เน้นมาตรการและแนวทางการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ ด้านการพัฒนาและส่งเสริมการป้องกัน ให้มีความต่อเนื่อง จริงจัง ดังนั้น จึงเห็นควรให้มีการวิเคราะห์ ปรับปรุงแนวคิด และทิศทางการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์โรคเอดส์ที่แปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็วตามสภาพเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมที่มีการปรับเปลี่ยนไป และปัญหาที่พบในปัจจุบัน คืออัตราการติดเชื้อในกลุ่มวัยรุ่น และเยาวชนมีอัตราเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งกลุ่มผู้ติดเชื้อมีอายุน้อย สาเหตุหนึ่งมาจากเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตอนอายุยังน้อยและไม่มีการป้องกัน ปัญหานี้นับเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญและควรได้รับการแก้ไขโดยการสร้างความเข้าใจและให้ความรู้แก่กลุ่มเยาวชนเพื่อให้สามารถป้องกันการติดเชื้อ ได้อย่างมีคุณภาพ
องค์กรสานฝันชะมวง ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จึงมีแนวคิดที่จะดำเนินงานด้าน การป้องกัน เพื่อให้กลุ่มเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ และผลกระทบจากผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ซึ่งการดำเนินงานในครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นในตำบลชะมวง ซึ่งจะส่งผลเชื่อมโยงไปถึงเรื่อง การเข้าถึงบริการจากสถานบริการสาธารณสุขระดับต่างๆ การดูแล รักษา การให้ความช่วยเหลือผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ที่ได้รับผลกระทบ ให้ได้มีโอกาสและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
เหตุผลอีกประการหนึ่งเพื่อต้องให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขและรับรู้ปัญหาร่วมกันจึงจัดให้มีเวทีพบปะผู้นำขึ้นเพื่อชี้แจงสถานการณ์เอดส์ในตำบลชะมวงและวิธีการดำเนินโครงการขององค์กรสานฝันชะมวงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้
- เพื่อให้เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์
- เพื่อลดอัตราติดเชื้อรายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนที่ผ่านการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
- มีแกนนำนักเรียนเป็นตัวแทนและเป็นเครือข่ายด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์
- นักเรียนมีทักษะชีวิตด้านการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์และไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ เพศศึกษา
วันที่ 5 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาและการป้องกันเกี่ยวกับโรคเอดส์
50
50
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาและการป้องกันเกี่ยวกับโรคเอดส์
รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ
1.ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
4.ค่าบำรุงสถานที่ เป็นเงิน 1,500 บาท
5.ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 5,000 บาท
6.ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 500 บาท
7.ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 17,600 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้
2
เพื่อให้เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์
3
เพื่อลดอัตราติดเชื้อรายใหม่
ตัวชี้วัด : ลดอัตราติดเชื้อรายใหม่
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้ (2) เพื่อให้เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์ (3) เพื่อลดอัตราติดเชื้อรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานองค์กรสานฝันชะมวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานองค์กรสานฝันชะมวง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัจจุบัน โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่า เยาวชนมีแนวโน้มอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรค หนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี มากขึ้นกว่าคนปกติ 3-9 เท่า ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมทางเพศที่ ไม่ปลอดภัยโดยพบว่าอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมา ยังต่ำอยู่ เพียงร้อยละ ๔๖.๙ เท่านั้น
ผลกระทบประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ ซึ่งจากสถิติในปี 2554 พบว่าวัยรุ่นหญิงของไทยอายุ 10-19 ปี คลอดบุตรจำนวน 131,400 คน ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ คิดว่าการร่วมเพศครั้งเดียวแล้วจะไม่ตั้งครรภ์ การใช้ถุงยางอนามัยจะขัดขวางความรู้สึกทางเพศ โดยร้อยละ 80 เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ทำให้วัยรุ่นตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์หรือทำแท้ง ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ปลอดภัย เสี่ยงอันตรายและอาจเสียชีวิตได้ และยังพบว่า มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นด้วย ประเทศไทยมีแผนยุทธศาสตร์เอดส์แห่งชาติ ปี พ.ศ. 2555-2559วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ประกอบด้วย
-ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ : ภายในปี 2559 ผู้ติดเชื้อรายใหม่ลดลง 2 ใน 3 และอัตราการติดเชื้อทารกแรกคลอดน้อยกว่า ร้อยละ 2
-ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ : ภายในปี 2559 ผู้ติดเชื้อเข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม เสียชีวิตลดลงมากกว่าร้อยละ 50 และเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรคลดลงมากกว่า ร้อยละ 50
-ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ : ภายในปี 2559 กฎหมายและนโยบายที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาพยาบาลได้รับการแก้ไข ผู้ติดเชื้อและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลักถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
จากสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในอำเภอควนขนุน ส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับปัญหาเรื่องเอดส์และผลกระทบ ซึ่งสังเกตได้จากรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละปี การบรรจุแผนปฏิบัติงานไว้ในแผนประจำปี หรือแผนฯ ๓ ปี ไม่ได้เน้นมาตรการและแนวทางการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ ด้านการพัฒนาและส่งเสริมการป้องกัน ให้มีความต่อเนื่อง จริงจัง ดังนั้น จึงเห็นควรให้มีการวิเคราะห์ ปรับปรุงแนวคิด และทิศทางการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์โรคเอดส์ที่แปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็วตามสภาพเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมที่มีการปรับเปลี่ยนไป และปัญหาที่พบในปัจจุบัน คืออัตราการติดเชื้อในกลุ่มวัยรุ่น และเยาวชนมีอัตราเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งกลุ่มผู้ติดเชื้อมีอายุน้อย สาเหตุหนึ่งมาจากเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตอนอายุยังน้อยและไม่มีการป้องกัน ปัญหานี้นับเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญและควรได้รับการแก้ไขโดยการสร้างความเข้าใจและให้ความรู้แก่กลุ่มเยาวชนเพื่อให้สามารถป้องกันการติดเชื้อ ได้อย่างมีคุณภาพ
องค์กรสานฝันชะมวง ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จึงมีแนวคิดที่จะดำเนินงานด้าน การป้องกัน เพื่อให้กลุ่มเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ และผลกระทบจากผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ซึ่งการดำเนินงานในครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นในตำบลชะมวง ซึ่งจะส่งผลเชื่อมโยงไปถึงเรื่อง การเข้าถึงบริการจากสถานบริการสาธารณสุขระดับต่างๆ การดูแล รักษา การให้ความช่วยเหลือผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ที่ได้รับผลกระทบ ให้ได้มีโอกาสและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
เหตุผลอีกประการหนึ่งเพื่อต้องให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขและรับรู้ปัญหาร่วมกันจึงจัดให้มีเวทีพบปะผู้นำขึ้นเพื่อชี้แจงสถานการณ์เอดส์ในตำบลชะมวงและวิธีการดำเนินโครงการขององค์กรสานฝันชะมวงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้
- เพื่อให้เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์
- เพื่อลดอัตราติดเชื้อรายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนที่ผ่านการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
- มีแกนนำนักเรียนเป็นตัวแทนและเป็นเครือข่ายด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์
- นักเรียนมีทักษะชีวิตด้านการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์และไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ เพศศึกษา |
||
วันที่ 5 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาและการป้องกันเกี่ยวกับโรคเอดส์
|
50 | 50 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาและการป้องกันเกี่ยวกับโรคเอดส์ รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ 1.ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท 4.ค่าบำรุงสถานที่ เป็นเงิน 1,500 บาท 5.ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 5,000 บาท 6.ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 500 บาท 7.ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 17,600 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้ ตัวชี้วัด : เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้ |
|
|||
2 | เพื่อให้เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์ ตัวชี้วัด : เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์ |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราติดเชื้อรายใหม่ ตัวชี้วัด : ลดอัตราติดเชื้อรายใหม่ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับครอบครัว ชุมชน สังคมได้ (2) เพื่อให้เยาวชนมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยเจริญพันธ์ (3) เพื่อลดอัตราติดเชื้อรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-02-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานองค์กรสานฝันชะมวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......