กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ


“ โครงการ "เพิ่มพูนความรู้และทักษะการป้องกันโรคไข้มาลาเรีย" ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางมัสลิน พลรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการ "เพิ่มพูนความรู้และทักษะการป้องกันโรคไข้มาลาเรีย" ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4128-009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ "เพิ่มพูนความรู้และทักษะการป้องกันโรคไข้มาลาเรีย" ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ "เพิ่มพูนความรู้และทักษะการป้องกันโรคไข้มาลาเรีย" ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ "เพิ่มพูนความรู้และทักษะการป้องกันโรคไข้มาลาเรีย" ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4128-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะแมเราะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มาลาเรียหรือไข้จับสั่น เป็นโรคร้ายที่ทำลายทั้งชีวิต และส่งผลกระทบถึงเศรษฐกิจของมนุษย์ รวมทั้งเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยมาช้านานหลายศตวรรษ องค์การอนามัย โลกได้พยายามควบคุมกวาดล้างไข้ มาลาเรียมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ แม้ว่าขณะนี ้ไข้มาลาเรียหายไปจากหลายประเทศในยุโรป ญี่ปุ่น เกาหลี แต่ก็ยังมีมากในเขตร้อน ปีหนึ่งๆ คนเป็นโรคนี้ประมาณ ๓๐๐ ล้านคน เสียชีวิตประมาณ ๑ - ๒ ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นเด็กในอาฟริกา นับว่ามาลาเรียทำลายชีวิตคนมากกว่าโรคใดๆทั้งสิ้น
สำหรับในประเทศไทย มาลาเรียเป็นปัญหาสาธารณสุขมาช้านาน รัฐบาลได้พยายามควบคุมกวาด ล้างมาลาเรียมาตั้งแต่องค์การอนามัยโลกแนะนำโดยการกาจัดยุงก้นปล่องอันเป็นพาหะของโรค และรักษาให้ยาฆ่าเชื้อมาลาเรียแก่ผู้เป็นโรค ไข้มาลาเรียได้ลดลง แต่ก็ยังไม่หมด ยังคงมีมากบริเวณชายแดนด้านตะวันออกติดกับ กัมพูชา และชายแดนด้านตะวันตกติดกับพม่า ในป่าเกือบทั่วประเทศไทยก็ยังมีไข้มาลาเรียอยู่ จังหวัดที่ยังมีไข้ มาลาเรียมากได้แก่ ตราด ตาก จันทบุรี กาญจนบุรี ยะลา อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน ปราจีนบุรี เป็นต้น แม้ว่ามาลาเรียเป็นโรคที่รักษาได้ผู้ป่วยจะไม่เสียชีวิต แต่มาลาเรียในประเทศไทยรักษายากกว่าที่อื่นๆ เพราะเชื้อมาลาเรียชนิดพลาสโมเดียม ฟัลซิพารัมดื้อต่อยาต้านไข้มาลาเรียเกือบทุกชนิด ดังนั้นหากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยที่ ถูกต้องรวดเร็ว จะทำให้การรักษาได้ผลดี ผู้ป่วยสามารถกลับไปทำงานได้อย่างเดิมโดยเร็วเป็นผลดีทั้งทางสุขภาพ และเศรษฐกิจ พื้นที่ของอำเภอเบตง เป็นพื้นที่เขา มีป่า และสวนยางอุดมสมบูรณ์ พื้นที่คงความเป็นธรรมชาติมากจึงเหมาะและเอื้อต่อการเกิดโรคไข้มาลาเรีย ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนยางพาราและสวนผลไม้ จึงเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคนี้ ซึ่งกลายเป็นโรคระบาดประจำถิ่นของอำเภอเบตง ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์สาธารณสุข มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน ๓๐๐ : ประชากร ข้อมูลในปี พศ. ๒๕๕๗ ตำบลตาเนาะแมเราะ มีจำนวนผู้ป่วย ๖๙ ราย คิดเป็น ๗๒๘.๗๗ ต่อแสนประชากร  ในปี พ.ศ ๒๕๕๘ มีจำนวนผู้ป่วย ๒๑ ราย คิดเป็น ๒๔๗.๒๓ ต่อแสนประชากร ในปี ๒๕๕๙ จำนวนผู้ป่วย ๓ ราย คิดเป็น ๓๕.๓๑ ต่อแสนประชากร สำหรับปี ๒๕๖๐ ตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม จำนวนผู้ป่วย ๙ ราย คิดเป็น ๑๐๕.๙๕ ต่อแสนประชากร (ข้อมูลจาก หน่วยควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ ๑ เบตง ) จึงต้องทำการควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนเกิดความตระหนัก มีส่วนร่วมกิจกรรมในการป้องกันควบคุมโรคโดยชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง อีกทั้งเป็นผู้ดำเนินการ รวมทั้งการค้นหาผู้ป่วยพร้อมกับการรักษาอย่างทันท่วงที ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ตำบลตาเนาะแมเราะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชน และแกนนำชุมชนความรู้ ทักษะในการป้องกันควบคุมโรคแก่ตนเอง และกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคมาลาเรีย
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสังเกตอาการเป็นไข้มาลาเรียได้ถูกต้อง
  4. เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้มาลาเรีย
  5. เพื่อส่งเสริมบทบาท ให้ ผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง สามารถค้นหา เฝ้าระวังโรคไข้ มาลาเรียในพื้นที่รับผิดชอบของตนเองได้รวดเร็วทันทีทันใด
  6. เพื่อให้ ผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย
  7. เพื่อให้ ประชาชน ตระหนัก และควบคุมป้องกันโรค ในบ้านเรือนของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย ไม่เกิน ๓๐๐ : แสนประชากร 2.ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้องสามารถควบคุมและป้องกันโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • ว่างและเครื่องดื่ม 60 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน  3,600  บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน 60 คนๆละ 90  บาท เป็นเงิน  5,400  บาท
    • ค่าสัมมนาวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 300  บาท เป็นเงิน    1,800  บาท
    • ค่าป้ายไวนิล ขนาดกว้าง 1 เมตร x ยาว 2 เมตร เป็นเงิน    1,000  บาท
    • ค่าวัสดุ เป็นเงิน    1,400  บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  13,200  บาท (เงินหนึ่งหมื่นสามพันสองร้อยบาทถ้วน)

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชน และแกนนำชุมชนความรู้ ทักษะในการป้องกันควบคุมโรคแก่ตนเอง และกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคมาลาเรีย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสังเกตอาการเป็นไข้มาลาเรียได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้มาลาเรีย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    5 เพื่อส่งเสริมบทบาท ให้ ผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง สามารถค้นหา เฝ้าระวังโรคไข้ มาลาเรียในพื้นที่รับผิดชอบของตนเองได้รวดเร็วทันทีทันใด
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    6 เพื่อให้ ผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    7 เพื่อให้ ประชาชน ตระหนัก และควบคุมป้องกันโรค ในบ้านเรือนของตนเอง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน และแกนนำชุมชนความรู้ ทักษะในการป้องกันควบคุมโรคแก่ตนเอง และกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคมาลาเรีย (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสังเกตอาการเป็นไข้มาลาเรียได้ถูกต้อง (4) เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้มาลาเรีย (5) เพื่อส่งเสริมบทบาท ให้ ผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง สามารถค้นหา เฝ้าระวังโรคไข้      มาลาเรียในพื้นที่รับผิดชอบของตนเองได้รวดเร็วทันทีทันใด (6) เพื่อให้ ผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย (7) เพื่อให้ ประชาชน ตระหนัก และควบคุมป้องกันโรค ในบ้านเรือนของตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ "เพิ่มพูนความรู้และทักษะการป้องกันโรคไข้มาลาเรีย" ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L4128-009

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมัสลิน พลรัตน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด