กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง


“ โครงการบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วย ”

ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุชาติ พรหมเสน

ชื่อโครงการ โครงการบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วย

ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3344-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3344-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้เน้นการจัดบริการผสมผสานที่ให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค เป็นบริการทั้งในสถานบริการและบริการในชุมชน การให้บริการในเชิงรุก เป็นการดำเนินการเพื่อสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนและการมีส่วนร่วมในการจัดการกับสภาวะสุขภาพของตนเอง,บุคคลในครอบครัวและของชุมชน ตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ประชาชนทุกคนควรจะได้รับขั้นพื้นฐาน การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดบริการการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน(Home Visit and Home Health Care) เป็นการจัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ที่เน้นในการดูแลผู้รับบริการ(กลุ่มเสี่ยง,กลุ่มด้อยโอกาส,ผู้ป่วย)และครอบครัวอย่างเป็นองค์รวมและต่อเนื่อง เพื่อทำความรู้จักและเข้าใจสภาพปัญหา วิถีชีวิตของผู้รับบริการและครอบครัว นอกจากนี้ยังมีการจัดบริการการดูแลสุขภาพต่อเนื่องที่บ้าน (Home Ward - HomeCare)ทำให้ผู้ป่วยมีความอบอุ่นที่ได้อยู่กับครอบครัว ลดภาระและความวิตกกังวลของครอบครัวสามารถดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วย เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาพยาบาลทำให้ผู้รับบริการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงได้จัดทำโครงการ จัดบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มอายุให้ครอบคลุมตามชุดสิทธิประโยชน์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก (อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ที่ได้มาตรฐานในสถานบริการ
  2. 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจหลังคลอดตามเกณฑ์
  3. 3.เพื่อให้บริการวางแผนครอบครัว
  4. 4.เพื่อให้กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไปได้รับบริการวัคซีนตามเกณฑ์
  5. 5.เพื่อให้กลุ่มอายุ 15 ปี และกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง 4 โรคและและได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมได้
  6. 6.เพื่อให้หญิงไทยอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมีความรู้ในการตรวจเต้านมได้ด้วยตัวเอง
  7. 7.เพื่อให้กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่เป็นโรคเรื้อรัง ได้รับการคัด กรองและประเมินโรคซึมเศร้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอาหารสาธิต, ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ,ค่าวัสดุการประชุม ,ค่าแถบตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด ,ค่าแถบตรวจหาระดับสารเคมีในเลือด ,ค่าเข็มเจาะเลือด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กิจกรรมที่1

1.ผู้ปกครองเด็ก0-5 ปีมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านโภชนาการในเด็ก และรู้จักเมนูอาหารเสริมสำหรับเด็ก

2.เด็ก0-5 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

3.เด็ก 0 – 6 ปีที่มีภาวะทุพโภชนาในเขตรับผิดลดน้อยลง

กิจกรรมที่ 2
1.กลุ่มเสี่ยงได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๙๐

2.กลุ่มเสี่ยงมีการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน

3.กลุ่มเสี่ยงได้รับการเยี่ยมบ้านและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงทุกราย

4.กลุ่มเป้าหมายได้รับคัดกรอง >= ร้อยละ ๙

5.กลุ่มปกติมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวานเพิ่มขึ้น

6.กลุ่มเสี่ยงได้รับการเยี่ยมบ้านและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงทุกราย

กิจกรรมที่ 3

1.ด้านประชาชน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

2.ด้านชุมชน เกิดภาคีเครือข่ายในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เข็มแข็งในการดูแลสุขภาพ

3.ด้านระบบงาน เกิดการพัฒนาการทำงานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ

4.ด้านบุคลากร ได้รับการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และเรียนรู้การทำงานไปพร้อมกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก (อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ที่ได้มาตรฐานในสถานบริการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจหลังคลอดตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้บริการวางแผนครอบครัว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อให้กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไปได้รับบริการวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5.เพื่อให้กลุ่มอายุ 15 ปี และกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง 4 โรคและและได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 6.เพื่อให้หญิงไทยอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมีความรู้ในการตรวจเต้านมได้ด้วยตัวเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

7 7.เพื่อให้กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่เป็นโรคเรื้อรัง ได้รับการคัด กรองและประเมินโรคซึมเศร้า
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก (อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ที่ได้มาตรฐานในสถานบริการ (2) 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจหลังคลอดตามเกณฑ์ (3) 3.เพื่อให้บริการวางแผนครอบครัว (4) 4.เพื่อให้กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไปได้รับบริการวัคซีนตามเกณฑ์ (5) 5.เพื่อให้กลุ่มอายุ 15 ปี และกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง 4 โรคและและได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมได้ (6) 6.เพื่อให้หญิงไทยอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมีความรู้ในการตรวจเต้านมได้ด้วยตัวเอง (7) 7.เพื่อให้กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่เป็นโรคเรื้อรัง ได้รับการคัด กรองและประเมินโรคซึมเศร้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารสาธิต, ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ,ค่าวัสดุการประชุม ,ค่าแถบตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด ,ค่าแถบตรวจหาระดับสารเคมีในเลือด ,ค่าเข็มเจาะเลือด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3344-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุชาติ พรหมเสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด