โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
รหัสโครงการ | 61-L8407-01-4 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสิมสุขภาพตำบลย่านซื่อ |
วันที่อนุมัติ | 22 มีนาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2561 |
งบประมาณ | 11,250.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวีรพล มรรคาเขต |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางเกสวรางค์ สารบัญ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.767,100.065place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาโรคติดต่อเรื้อรัง หรือที่เรียกว่า“โรควิถีชีวิต”๕โรคได้แก่โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็ง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องจากความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อวิถีชีวิตและก่อให้เกิดพฤติกรรมการสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล (รับประทาน หวาน มันเค็ม มากเกินไปและรับประทานผักผลไม้น้อยเกินไป)การเคลื่อนไหวทางกายน้อยการบริโภคยาสูบการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ รวมถึงภาวะเครียด ซึ่งหากไม่สามารถหยุดพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรควิถีชีวิตพิการ และเสียชีวิตตามมา นอกจากนี้ ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาลความสำคัญของการป้องกันและความคุมโรควิถีชีวิต จึงผลักดันให้เกิดความร่วมมือบูรณาการระหว่างหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (DM HT)เป้าหมายคือกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนโดยกลุ่มปกติจะแนะให้คำนะนำสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก๓อ.๒ส(ออกกำลังกายอาหารอารมณ์ไม่ดื่มสุราและไม่สูบบุหรี่) และติดตามตรวจซ้ำปีละครั้งกลุ่มเสี่ยง จะเน้นให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันไม่ให้ป่วย และติดตามตรวจเลือดและวัดความดันโลหิตสูงเป็นระยะๆ กลุ่มผู้ป่วยจะเน้นจัดระบบในการดุแลสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตรวจภาวะแทรกซ้อนและบริการดูแลรักษาเชื่อมโยงระหว่างรพ.สต. โรงพยาบาลชุมชนเพื่อดูแลรักษาต่อไป และนอกจากนี้ จะส่งเสริมศักยภาพชุมชนให้เป็นชุมชนเข็มแข็งสามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองได้และเชื่อว่าจะสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตลดผู้ป่วยใหม่ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนไปจนถึงลดการเสียชีวิตและสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 150 | 11,250.00 | 2 | 11,250.00 | 0.00 | |
26 ก.ค. 61 | เสวนาแลกเลี่ยนเรียนรู้ ในกลุ่มเสี่ยง/ผู้ดูแล | 100 | 10,000.00 | ✔ | 10,000.00 | 0.00 | |
2 ส.ค. 61 | กิจกรรมติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยน โดย อสม. | 50 | 1,250.00 | ✔ | 1,250.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 150 | 11,250.00 | 2 | 11,250.00 | 0.00 |
๑.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความตระหนักและสามารถเฝ้าระวังดูแลสุขภาพตนเองได้ ทำให้มีสุขภาพดีขึ้น ๒.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เสี่ยงสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่เปลี่ยนสถานะจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มป่วย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มิ.ย. 2561 12:45 น.