กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี ๒๕๖๐ ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมศรีสุขผอม

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี ๒๕๖๐ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขของโลก เป็นภัยลุกลามอย่างรวดเร็วทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างมาก จากข้อมูลสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ รายงายว่าในปัจจุบันทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน 4ล้านคนต่อปี เฉลี่ย 8 วินาท ต่อ 1 คนและพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานมากกว่า 300 ล้านคน คนที่อยู่ในประเทศที่มีรายได้ตำ่และปานกลางมีโอกาสเป็นเบาหวานเร็วกว่าคนที่อยู่ในประเทศที่มีรายได้สูง 10-20 ปี โดยพบมากขึ้นในวัยทำงาน สถานการณ์ในประเทศไทย 2ปีที่ผ่านมา มีคนไทยป่วยด้วยเบาหวาน 3.5 ล้านคน แต่มีถึง 1.1 ล้านคนที่ไม่รู้ว่าตนเองป่วย ที่น่าห่วงกว่านั้นผู้ป่วยเหล่านี้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจสูงกว่าคนปกติถึง 2-4เท่า และมากกว่าครึ่งมีความผิดปกติของระบบประสาทและเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในผู้ชาย เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า ไต ในขณะที่โรคความดันโลหิตสูง จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก ทั้งโลกมีผู้เป็นความดันโลหิตสูงถึง 1,000 ล้านคน 2 ใน 3 จำนวนนี้อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา โดยพบว่าคนในวัยผู้ใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย ประชากร 1 ใน 3 จะมีภาวะความดันโลหิตสูง สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลสถิติ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัด กระทรวงสาธารณสุข พบว่า สถานการณ์ป่วยและเข้ารับการรักษาในสถานบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุขด้วยโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกภาค เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูล 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2543-2553) พบว่า
อัตราป่วยต่อแสนประชากร จะมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจาก 259 เป็น 1,349 ซึ่งถือว่ามีอัตราป่วยเพิ่มขึ้นกว่า 5 เท่า ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบ้านควน ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านควน ได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อเป็นการค้นหากลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อโรค ให้ได้รับการดุแลรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองเฝ้าระวังการป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสียงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จากการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพกลุ่มประชากรสมัครใจเข้าร่วม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนได้รับการตรวจเฝ้าระวังคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
    2. ลดการสูญเสียงบประมาณในการรักษา
    3. ประชาชนกลุ่มป่วยและเสี่ยงได้รับการดูแลรักษา ลดภาวะแทรกซ้อนของโรค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อตรวจคัดกรองเฝ้าระวังการป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเฝ้าระวังคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 95

     

    2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสียงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จากการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพกลุ่มประชากรสมัครใจเข้าร่วม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองเฝ้าระวังการป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสียงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จากการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพกลุ่มประชากรสมัครใจเข้าร่วม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี ๒๕๖๐ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสมศรีสุขผอม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด