กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตร ประกันฯ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค (Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆ ประเทศทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,๒๕๔๘) ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ ๒ พันล้านคน หรือเกือบ ๑ ใน ๓ ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต ๑.๙๐ ล้านคนในแต่ละปี การขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน การด้อยโอกาสทางการศึกษา ชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด แรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ ๙๒,๓๐๐ คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ ๔๔,๔๗๕ คนเป็นผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ ๑๒,๐๘๙ ราย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ ๑๗ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ชนิดเสมหะพบเชื้อจำนวน ๒๕,๙๖๖ ราย รวมผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทมีจำนวน ๕๓,๓๕๗ ราย เสียชีวิต ๒,๕๔๘ ราย อัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๐๐ ซึ่งยังไมบรรลุเป้าหมายขององค์การอนามัยโลกที่มีเป้าหมายอัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่ อยู่ที่ร้อยละ ๘๕.๐๐ ภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ มีอัตราความสําเร็จของการรักษาคิดเปน รอยละ ๘๓.๐๐ ซึ่งยังต่ำกวาเปาหมายขององค์การอนามัยโลกที่มีเปาหมายอัตราความสําเร็จของการรักษาอยูที่รอยละ ๘๗.๐๐ ภายในป ค.ศ. ๒๐๑๕ (สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๕๓)
สถานการณ์วัณโรคในจังหวัดตรังตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ๔๒๑ ราย, ๓๙๘ ราย, ๓๗๘ ราย และ ๓๖๖ ราย ตามลำดับ ซึ่งในปี๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ มีรายงานอัตราความครอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ ร้อยละ ๖๗ และร้อยละ ๖๔ ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายร้อยละ ๗o ด้านผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ พบว่าผู้ป่วยวัณโรค รายใหม่เสมหะพบเชื้อ มีอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค(Success rate) ร้อยละ ๙o, ร้อยละ ๙๕ ซึ่งได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ ๙o และในปี ๒๕๕๗ พบว่าผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภท มีอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค ร้อยละ ๙o ซึ่งได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ๘๕ แต่เนื่องจากสถานการณ์ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๘ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จำนวน ๒ ราย, ๑ ราย และ ๔ ราย ตามลำดับ อย่างไรก็ตามยังพบว่าความคลอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ (TB case detection)ยังไม่บรรลุเป้าหมายของประเทศโดยภาพรวม (ร้อยละ ๗๐) ซึ่งต้องเร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรด้อยโอกาส และกลุ่มเสี่ยงต่างๆให้คลอบคลุม รวมทั้งการทำงานแบบผสมผสานวัณโรค และโรคเอดส์อย่างจริงจัง เพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย อีกทั้งป้องกันปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานอีกด้วย อาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)เป็นตัวแทนประชาชนที่ถูกคัดเลือกให้ทำงานด้านสาธารณสุข ปัจจุบันได้รับการยอมรับจากส่วนต่างๆ ทั้งระดับประเทศ และในชุมชนเอง เป็นอย่างดี ซึ่งมีความคล่องตัวต่อการดำเนินงานปรับเงื่อนไขทางสังคม และวัฒนธรรมของชุมชน ให้เอื้อต่อการป้องกันวัณโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง อสม. นับเป็นแกนนำด้านสุขภาพที่มีความสำคัญในชุมชน ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง อสม. เป็นบุคคลที่อาศัยและทำงานในชุมชนประจำ มีระบบเครือญาติและระบบเครือข่ายทางสังคม ย่อมมีความคุ้นเคย เข้าใจสภาพปัญหาในชุมชน ทำให้รู้ปัญหา และความต้องการที่แท้จริงของชุมชนตนเอง ทำให้เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาวัณโรค ด้วยชุมชน และเพื่อชุมชนตนเองอสม. เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค การติดต่อความรุนแรงของโรค ที่ดีระดับหนึ่ง และเป็นผู้ที่มีความใกล้ชิด คุ้นเคยกับชุมชน ทำให้เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆในชุมชน อย่างดีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ภายในกลุ่ม การระดมความคิดเห็นในการดำเนินงาน การร่วมกำหนดบทบาทหน้าที่ของตนเองในการดำเนินงาน การร่วมวางแผนดำเนินงาน การฝึกปฏิบัติจริงในชุมชน การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โดยกิจกรรมดังกล่าว จะเป็นเครื่องมือกระตุ้นให้ อสม. ในพื้นที่ มีความสามารถในการดำเนินงานป้องกันวัณโรคปอดได้ด้วยชุมชนเอง ทำให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน ต่อไป ดังนั้นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินงานวัณโรคดังกล่าวจึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคขึ้นเพื่อสำรวจกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ๒๕๐ เพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ๒.เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ๓.เพื่อให้อสม.และแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของวัณโรคสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง ๑.๑วัตถุประสงค์เฉพาะ ๑. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง ๒. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบ มีพี่เลี้ยง (DOT) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ๓. เพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จในการรักษาวัณโรค ๔. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคี เครือข่ายในการดำเนินงานเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคในชุมชน อันจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3/2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อสม.และแกนนำที่ได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของวัณโรค ๒.ผู้มีอาการสงสัยว่าเป็นวัณโรคได้รับการคัดกรองวินิจฉัยและการรักษาวัณโรคตามมาตรฐานแนวทางการดำเนินงานวัณโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรกผู้ป่วยได้รับการดูแลการกินยาต่อเนื่องสามารถลดอัตราการเสียชีวิตการขาดยาและการรักษาล้มเหลวทำให้อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะบวก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ๒.เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ๓.เพื่อให้อสม.และแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของวัณโรคสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง ๑.๑วัตถุประสงค์เฉพาะ ๑. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง ๒. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบ มีพี่เลี้ยง (DOT) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ๓. เพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จในการรักษาวัณโรค ๔. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคี เครือข่ายในการดำเนินงานเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคในชุมชน อันจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ๒.เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ๓.เพื่อให้อสม.และแกนนำมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของวัณโรคสามารถคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง ๑.๑วัตถุประสงค์เฉพาะ          ๑. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง ๒. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบ มีพี่เลี้ยง (DOT) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ๓. เพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จในการรักษาวัณโรค ๔. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคี เครือข่ายในการดำเนินงานเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคในชุมชน อันจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3/2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตร ประกันฯ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด