กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง


“ โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี 2561 ”

ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพลอยไพลิน แดงทอง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3344-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3344-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับสามรองจากโรคหัวใจและอุบัติเหตุ มะเร็งที่พบมากที่สุดในสตรี คือมะเร็งปากมดลูก รองลงมา คือ มะเร็งเต้านม อย่างไรก็ตามในปัจจุบันอัตราตายของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกลดลงเนื่องจากมีการวินิจฉัยและค้นหามะเร็งปากมดลูกตั้งแต่ระยะเริ่มแรกหรือความผิดปกติที่อาจกลายเป็นมะเร็งเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการทำ Pap smear ทำให้มีการักษาความผิดปกติเพิ่มมากขึ้น มีผลทำให้จำนวนของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะรุนแรงลดลง จากผลการศึกษาของ International Agency for Research on Cancer (IARC/WHO) พบว่าถ้ามีการคัดกรองเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกโดยการทำ Pap Smear ในหญิงอายุ 35 - 64 ปี โดยทำ 1 ครั้งทุกปี หรือ 1 ครั้งทุก 2 ปี หรือ 1 ครั้งทุก 3 ปี จะสามารถลดปัญหาโรคมะเร็งปากมดลุกได้ถึง 91 -93 % แต่ถ้าทำ 1 ครั้งทุก 5 ปี จะสามารถลดปัญหาโรคมะเร็งปากมดลูกได้ 84% ในปีงบประมาณ 2560 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร ดำเนินการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ 30 - 60 ปี ที่ไม่เคยรับการตรวจคัดกรอง Pap Smear ในรอบปี 255๘ – 25๖๒ จำนวน ๔๙๑ คน ได้รับการตรวจ Pap Smear จำนวน ๑๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๗๐ ผลการตรวจไม่พบเชื้อมะเร็งปากมดลูก แต่พบการติดเชื้อราในช่องคลอด จำนวน ๓ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒.๒๑ และการคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่กลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี จำนวน ๕๘๐ คน ได้รับการตรวจเต้านมตนเอง ๕๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ 93.10 ผลการตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๑ ราย คิดเป็นร้อยละ 0.18 จากรายงานผลการตรวจจะเห็นว่าการเฝ้าระวังและการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกยังมีผู้เข้าร่วมโครงการน้อย แต่เพื่อให้การเฝ้าระวังการเกิดโรคที่รุนแรงสตรีกลุ่มเป้าหมายควรได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap Smear ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีนโยบายให้ทุกจังหวัดดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดเป้าหมายในระยะเวลา ๕ ปี ตั้งแต่ 2558 - 2562 ให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง Pap Smear ร้อยละ 80 และสามารถตรวจเต้านมตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ ๙๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น โดยเป็นการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มแรกซึ่งจะส่งผลให้สามารถได้รับรักษาพยาบาลได้ทันท่วงทีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และเต้านม
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
  3. 3. เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการรักษาหรือส่งต่อที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าวัสดุประชุมฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับคัดกรอง >= ร้อยละ ๙๐
2.กลุ่มปกติมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านมเพิ่มขึ้น
3.กลุ่มเสี่ยงได้รับการเยี่ยมบ้านและกลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อทุกราย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และเต้านม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการรักษาหรือส่งต่อที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และเต้านม (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม (3) 3. เพื่อกลุ่มเสี่ยงได้รับการรักษาหรือส่งต่อที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าวัสดุประชุมฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม ประจำปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3344-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพลอยไพลิน แดงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด