กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ รพ.สต.บ้านวังตง
รหัสโครงการ 61L5294-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตง
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2561
งบประมาณ 10,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมใจ หลังเถาะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.032,99.743place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตงตำบลนาทอนอำเภอทุ่งหว้าจังหวัดสตูล พบว่าสถานการณ์ของโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะโดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกในระยะ๓ ปีที่ผ่านตัเงแต่ปี๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ มีจำนวนผู้ป่วยเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี ๒๕๕๙ มีจำนวนผู้ป่วย ๒ ราย ปี ๒๕๖๐ มีจำนวนผู้ป่วย ๓ ราย และปี ๒๕๖๑ ตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมีจำนวนผู้ป่วย ๖ ราย ซึ้งในแต่ปีการใช้มาตรการด้านการควบคุม ป้องกันโรค จะดำเนินการ โดยใช้มาตรการ ๓ ด้าน คือด้านกายภาพ ด้านชีวภาพ และด้านการใช้สารเคมีโดยกระบวนการสร้างความร่วมมือระหว่างภาคราชการ องค์กรท้องถิ่น และชุมชน มีการใช้มาตรกรทั้งด้าน ๓ ด้านอย่างต่อเนื่องและจริงจัง จนสามารถควบคุม ป้องกันโรคในระดับหนึ่งแต่จากการดำเนินการที่ผ่านมาพบว่า เมื่อดำเนินการไปอย่างต่อเนื่องแล้วมาตรการด้านการใช้สารเคมี จะส่งผล กระทบต่อชุมชนค่อนข้างสูง ไม่ว่าจะเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ สารเคมีตกค้าง หรือแม้กระทั่งการซื้อต่อสารเคมีของลูกน้ำยุงลาย อีกทั้งเป็นการดำเนินงานที่ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการคิด การดำเนินงานน้อยมาก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ได้ตะหนักถึงสิ่งที่เกิดขึ้น จึงได้รับวิธีการที่เหมาะสมอีกวิธีหึ่งคือการสร้างแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ให้มีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำความรู้ไปเผยแพร่สู่ชุมชนและสร้างแนวร่วมในการควบคุมป้องกันโรค ให้มีความยั่งยืนและต่อเนื่อง ประหยัดงบประมาณในระยะยาวโดยใช้มาตรการด้านกายภาพ และด้านชีวภาพในการดำเนินการปรับปรุงสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมเพิ่มศักยภาพของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี อันจะส่งผลให้ปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกลดลงอย่างต่อเนื่อง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ และนำความรู้ไปถ่ายทอด ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

๑.และแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ ระดับดีร้อยละ ๙๐

90.00
2 มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวและเกิดแนวร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

๒.มีแกนนำสุขภาพประจำควอบครัวหมู่ละ ๑๒ คนและเกิดแนวร่วม ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแต่ล่ะหมู่บ้าน

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 1 10,300.00
1 มิ.ย. 61 - 31 ส.ค. 61 อบรมให้ความรู้ แกนนำ สุขภาพประจำครอบครัว 0 0.00 10,300.00

ขั้นตอนการเตรียม ๑.ประชุมชี้แจงอสม.ผู้นนำชุมชน ,อบต.ครูและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน
๒.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ
๓.กำหนดสถานที่จัดอบรม
๔.กำหนดวิทยากร
๕.เอกสารสื่อสนับสนุน
ขั้นดำเนินการ
๑.อบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว
๒.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้สุขศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๓.ดำเนินการควบคุมในพื้นที่สำรวจที่มีอัตราเสี่ยง
๔.เฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ๒.แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ลดน้องลง ๓.สามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้ ๔.ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2561 09:57 น.