กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ โครงการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เขตเทศบาลตำบลกำแพง ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวหทัยชนกถิ่นแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เขตเทศบาลตำบลกำแพง

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เขตเทศบาลตำบลกำแพง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เขตเทศบาลตำบลกำแพง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เขตเทศบาลตำบลกำแพง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2561-L5309-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังจำเป็นต้องปรับตัวอย่างมากต่อสภาพร่างกายและโรคภัยที่เกิดขึ้นกับตนเอง บางรายต้องได้รับการรักษาที่ซับซ้อนและต่อเนื่อง หรือต้องนอนพักโรงพยาบาลเป็นเวลานาน บางรายป่วยเป็นโรคร้ายแรงที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ และจำเป็นต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหอบหืด เป็นต้นด้วยโรคที่ผู้ป่วยเป็นและการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ อาจนำมาสู่ซึ่งอาการข้างเคียงและอาการแทรกซ้อนต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ท้องเสีย ปวดเมื่อย หรืออาการแทรกซ้อนที่รุนแรงอาจอันตรายถึงพิการหรือเสียชีวิต เช่น การมีแผลติดเชื้อ การต้องตัดอวัยวะบางส่วนทิ้ง เป็นต้น ด้วยเหตุนี้การเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย การปรับตัวต่อสภาพของโรคและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตลอดจนการบำบัดรักษาที่ผู้ป่วยได้รับอาจนำมาสู่ซึ่งความทุกข์ ความเครียด ความวิตกกังวลต่างๆ เช่น วิตกกังวลเรื่องโรคและการรักษา วิตกกังวลเรื่องค่ารักษาพยาบาล สภาพการงานการดำเนินชีวิต รู้สึกสูญเสียคุณค่าในตัวเอง ผู้ป่วยบางรายอาจจะปรับตัวได้ดี ในขณะเดียวกันผู้ป่วยบางรายไม่สามารถปรับตัวต่อสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตได้ เกิดปัญหาทางด้านจิตใจตามมา เช่น ความเครียด มีอาการซึมเศร้า ท้อแท้ สิ้นหวัง หมดหวังในการรักษา บางรายมีความทุกข์ทางใจอย่างมาก จนไม่อยากมีชีวิตอยู่พยายามทำร้ายตนเองเพื่อให้พ้นทุกข์จากสภาพที่ต้องเผชิญ จากการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต ของเครือข่ายชุมชนเขตเทศบาลกำแพงที่ผ่านมาพบว่า แกนนำสุขภาพจิตให้ความร่วมมือ ร่วมใจในการทำงาน เกิดสัมพันธภาพ ให้การช่วยเหลือ นำผู้ป่วยที่สงสัยอาการทางจิตเวชเข้าสู่ระบบการรักษา ร่วมด้วยช่วยกันดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีปัญหาซับซ้อนในเขตชุมชนของตนเอง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดังนั้นเพื่อให้มีการดำเนินงานที่คลอบคลุม ขยายกลุ่มเป้าหมายออกไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่น จึงได้มีการดำเนินการต่อเนื่อง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้องรังในเขตความรับผิดชอบเทศบาลกำแพงจากข้อมูลระบบ Hos-x p ของ PCU กำแพง พบว่า มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน.30 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 70 รายดังนั้นเพื่อศึกษาสถานการณ์ว่า ในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว มีผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคทางด้านสุขภาพจิตหรือไม่ในกลุ่มที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต นำเข้าสู่กระบวนการรักษา เพื่อเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพจิตในผู้ป่วยต่อไปงานสุขภาพจิต โรงพยาบาลละงูจึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สามารถช่วยเหลือตนเอง พิจารณาทางเลือกในการจัดการปัญหาได้ถูกต้อง มีจิตใจที่เข้มแข็งต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิต มีความรู้ ความสามารถในการดูแล คัดกรอง ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้
  2. เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความสามารถในการปรับตัวได้ในการใช้ชีวิตประจำวันของตนเอง
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตเทศบาลกำแพงได้รับการตรวจคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่พบปัญหาสุขภาพจิตได้รับการช่วยเหลือ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมหลักสูตรการดูแลปัญหาสุขภาพจิต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  2. ตรวจคัดกรอง ค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 8 ชุมชน โดยแกนนำสุขภาพจิตชุมชนเทศบาล
  3. กิจกรรมจัดกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ กิจกรรมในโครงการ
  4. ติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังที่พบปัญหาสุขภาพจิต และให้การช่วยเหลือ
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้ ความสามารถในการดูแล คัดกรอง ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ แกนนำสุขภาพจิตมีความสามารถในการปรับตัวได้ในการใช้ชีวิตประจำวันของตนเอง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตเทศบาลกำแพงได้รับการตรวจคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่พบปัญหาสุขภาพจิตได้รับการช่วยเหลือร้อยละ 100


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิต มีความรู้ ความสามารถในการดูแล คัดกรอง ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้ ความสามารถในการดูแล คัดกรอง ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความสามารถในการปรับตัวได้ในการใช้ชีวิตประจำวันของตนเอง
ตัวชี้วัด : 1.แกนนำสุขภาพจิตมีความรู้ในการปรับตัวด้านอารมณ์ เข้าใจปัญหาของโรคในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ร้อยละ 80 2. แกนนำสุขภาพจิตมีความเครียดและซึมเศร้า <ร้อยละ 10
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตเทศบาลกำแพงได้รับการตรวจคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตเทศบาลกำแพงได้รับการตรวจคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต ร้อยละ 80
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่พบปัญหาสุขภาพจิตได้รับการช่วยเหลือ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่พบปัญหาสุขภาพจิตได้รับการช่วยเหลือร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิต  มีความรู้ ความสามารถในการดูแล คัดกรอง ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้  (2) เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตมีความสามารถในการปรับตัวได้ในการใช้ชีวิตประจำวันของตนเอง  (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตเทศบาลกำแพงได้รับการตรวจคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต (4) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่พบปัญหาสุขภาพจิตได้รับการช่วยเหลือ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมหลักสูตรการดูแลปัญหาสุขภาพจิต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  (2) ตรวจคัดกรอง ค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  8 ชุมชน โดยแกนนำสุขภาพจิตชุมชนเทศบาล  (3) กิจกรรมจัดกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ กิจกรรมในโครงการ  (4) ติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังที่พบปัญหาสุขภาพจิต และให้การช่วยเหลือ  (5) สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพจิตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เขตเทศบาลตำบลกำแพง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวหทัยชนกถิ่นแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด