กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปลูกฝังเด็กให้มีนิสัยการรับประทานอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน เป้าหมาย เด็กใน ศพด.ทต.กำแพง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพงได้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานใน ศูนย์พัฒนาเด็ก
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับทราบถึงผลกระทบของการบริโภคหวานเกินความจำเป็นรวมถึงการเลือกอาหารว่างที่เป็นประโยชน์ให้กับเด็ก
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพงได้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานในศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง 2.ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานในศูนย์พัฒนาเด็กมีความรู้การเลือกบริโภคอาหาร พัฒนาการในเด็ก และการดูแลสุขภาพของปากผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้ เป้าหมาย เด็กใน ศพด.ที่มีฟันน้ำนมผุและยังสามารถให้การบูรณะด้วยการอุดฟันด้วย SMART technique ได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของเด็กใน ศพด.ที่มีฟันผุและยังสามารถให้การบูรณะด้วยการอุดฟันได้โดยวิธี SMART technique 2.ร้อยละ 100 ของเด็กใน ศพด.ที่ได้รับการอุดฟันแบบ SMART technique ไม่มีปัญหาภาวะแทรกซ้อนหลังทำ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปลูกฝังเด็กให้มีนิสัยการรับประทานอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน เป้าหมาย  เด็กใน ศพด.ทต.กำแพง  (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับทราบถึงผลกระทบของการบริโภคหวานเกินความจำเป็นรวมถึงการเลือกอาหารว่างที่เป็นประโยชน์ให้กับเด็ก (3) เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้ เป้าหมาย  เด็กใน ศพด.ที่มีฟันน้ำนมผุและยังสามารถให้การบูรณะด้วยการอุดฟันด้วย SMART technique ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานและการติดตาม การดำเนินงานในโครงการ “รณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน” (2) สอนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเรื่องโภชนาการและอาหารการดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกแปรงฟัน (3) จัดบริการอุดฟันให้แก่เด็กที่มีฟันผุด้วยวิธี SMAR technique (4) จัดงานมหกรรมเด็ก/ผู้ปกครองเด็ก”รณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน” (5) สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh