ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ”
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกูรอซีด๊ะ บูละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
ที่อยู่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3046-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เป้าหมายสูงสุดของการสร้างเสริมสุขภาพในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ที่การที่ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืนด้วยความตั้งใจ เต็มใจและจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธา
ยุทศาสตร์สำคัญคือการพัฒนาบทบาทของประชาชน ทั้งในฐานะสมาชิกและสังคมและองค์กรชุมชน สำหรับหนทางที่จะไปให้ถึงความสำเร็จตามเป้าหมายดังกล่าวนั้น ต้องการขบวนการสร้างปัจจัยที่นำไปสู่การแสดงบทบาทของบุคคลและชุมชน รวมถึงสิ่งเหล่านี้คือการสร้างเสริมความแข็งแรงทางพลังใจ การสร้างจิตสำนึก ศรัทธา การสร้างระบบข้อมูลและการสื่อสารของชุมชน การวิเครราะห์ การค้นหาความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับสุขภาพ การสร้งทักษะ การสร้างความเป็นผู้นำ การสร้างเครือข่าย การสร้างนวัตกรรมในชุมชน
กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้อาสาสมัครสาธารณสุขเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศมาเป็นระยะเวลามากว่า 30 ปี ด้วยการพัฒนาศักยภาพประชาชนผู้มีจิตอาสาทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพตนเองและเพื่อนบ้านในรูปแบบของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยยึดแนวคิดเบื้องต้นที่สร้างการพื้นฐานทางวัฒนธรรม ด้วยการสนับสนุนประชาชนทำหน้าที่รักษาพยาบาลป้องกันโรคและสร้างเสริมสุขภาพตามวัฒนธรรมเอื้ออาทรที่มีมาแต่เดิม อสม. จึงทำหน้าที่บนพื้นฐานของความเกื้อกูลกันตามแนวพระราชดำริ
ในปี 2560-2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง ได้จัดทำแผนงานยส่งเสริมสุขภาพในนชุมชนจำนวนหลายโครงการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งเป็นด่านหน้าในการปฏิบัติงานในชุมชน เช่น การตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อ การเยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นทา รพ.สต. จึงได้มีแนวคิดในการจัดทำโครงการต่างๆ ทีต้องออกดำเนินงานในชุมชน (เชิงรุก) มาบูรณาการร่วมกัน เพื่อเป็นการประหยัดงบประมมาณ ประหยัดเวลา และติดตามงานได้ครอบคลุมทุกงานและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานของกลุ่มเสี่ยง ปี 2561 นี้คิด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาตและโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการตรวจวัดรอบเอวเพื่อหาความเสี่ยง
- เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข
- บริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรคความดันและเบาหวาน
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกายและสูบบุหรี่
- กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง สามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว จากฐานเดิมได้ร้อยละ 5 และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข
วันที่ 2 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ชี้แจ้งนโยบายและกิจกรรมจัดทำโครงการโครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ปี 2561
2. อบรบให้ความรู้ดังนี้
1. ความรู้เกี่ยวกับโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
2. วิธีการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
3. วิธีการวัดความดันฯ ด้วยเครื่องวัดBP และเครื่องเจาะDTX
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. สามารถแนะนำให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันและเบาหวาน และได้คัดกรองวัดความดันโลหิตสูง และเจาะเบาหวานได้ถูกต้อง
32
0
2. บริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน
วันที่ 3 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ลงคัดกรองในชุมชนเขต อบต. หมู่ที่ 1,3,4,5 ( โดยกลุ่มเป้าหมายต้องงดน้ำ-อาหารหลังเที่ยง
- อสม.แต่ละหมู่ชี้แจ้งให้คำแนะนำ เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
- มีการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอวทุกคนตารมกลุ่มเป้าหมาย
- หากค่าความดันและเบาหวานผิดปกติ ได้แนะนำวิธีป้องกัน และนัดตรวจซ้ำส่งต่อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้ ครบทุกคน
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกายและสูบบุหรี่
- กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง สามารถลดน้ำหนัก-ลดรอบเอว จากฐานเดิมได้
ร้อยละ5 และเป็นแบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไปได้
350
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาตและโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการตรวจวัดรอบเอวเพื่อหาความเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 95 ได้รับการตรวจคัดกรอง
350.00
2
เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา
350.00
3
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 95 ได้รับการตรวจคัดกรอง
350.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาตและโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการตรวจวัดรอบเอวเพื่อหาความเสี่ยง (2) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (2) บริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกูรอซีด๊ะ บูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ”
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกูรอซีด๊ะ บูละ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3046-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เป้าหมายสูงสุดของการสร้างเสริมสุขภาพในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ที่การที่ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืนด้วยความตั้งใจ เต็มใจและจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธา
ยุทศาสตร์สำคัญคือการพัฒนาบทบาทของประชาชน ทั้งในฐานะสมาชิกและสังคมและองค์กรชุมชน สำหรับหนทางที่จะไปให้ถึงความสำเร็จตามเป้าหมายดังกล่าวนั้น ต้องการขบวนการสร้างปัจจัยที่นำไปสู่การแสดงบทบาทของบุคคลและชุมชน รวมถึงสิ่งเหล่านี้คือการสร้างเสริมความแข็งแรงทางพลังใจ การสร้างจิตสำนึก ศรัทธา การสร้างระบบข้อมูลและการสื่อสารของชุมชน การวิเครราะห์ การค้นหาความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับสุขภาพ การสร้งทักษะ การสร้างความเป็นผู้นำ การสร้างเครือข่าย การสร้างนวัตกรรมในชุมชน
กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้อาสาสมัครสาธารณสุขเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศมาเป็นระยะเวลามากว่า 30 ปี ด้วยการพัฒนาศักยภาพประชาชนผู้มีจิตอาสาทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพตนเองและเพื่อนบ้านในรูปแบบของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยยึดแนวคิดเบื้องต้นที่สร้างการพื้นฐานทางวัฒนธรรม ด้วยการสนับสนุนประชาชนทำหน้าที่รักษาพยาบาลป้องกันโรคและสร้างเสริมสุขภาพตามวัฒนธรรมเอื้ออาทรที่มีมาแต่เดิม อสม. จึงทำหน้าที่บนพื้นฐานของความเกื้อกูลกันตามแนวพระราชดำริ
ในปี 2560-2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง ได้จัดทำแผนงานยส่งเสริมสุขภาพในนชุมชนจำนวนหลายโครงการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งเป็นด่านหน้าในการปฏิบัติงานในชุมชน เช่น การตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อ การเยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นทา รพ.สต. จึงได้มีแนวคิดในการจัดทำโครงการต่างๆ ทีต้องออกดำเนินงานในชุมชน (เชิงรุก) มาบูรณาการร่วมกัน เพื่อเป็นการประหยัดงบประมมาณ ประหยัดเวลา และติดตามงานได้ครอบคลุมทุกงานและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานของกลุ่มเสี่ยง ปี 2561 นี้คิด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาตและโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการตรวจวัดรอบเอวเพื่อหาความเสี่ยง
- เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข
- บริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรคความดันและเบาหวาน
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกายและสูบบุหรี่
- กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง สามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว จากฐานเดิมได้ร้อยละ 5 และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.ชี้แจ้งนโยบายและกิจกรรมจัดทำโครงการโครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ปี 2561
2. อบรบให้ความรู้ดังนี้
1. ความรู้เกี่ยวกับโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. สามารถแนะนำให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันและเบาหวาน และได้คัดกรองวัดความดันโลหิตสูง และเจาะเบาหวานได้ถูกต้อง
|
32 | 0 |
2. บริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
350 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาตและโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการตรวจวัดรอบเอวเพื่อหาความเสี่ยง ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 95 ได้รับการตรวจคัดกรอง |
350.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา |
350.00 |
|
||
3 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 95 ได้รับการตรวจคัดกรอง |
350.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาตและโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการตรวจวัดรอบเอวเพื่อหาความเสี่ยง (2) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ อัมพฤกษ์ อัมพาต ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (2) บริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกูรอซีด๊ะ บูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......