กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตกรรม -นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องทันตกรรม สามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง และสามารถนำไปเผยแพร่กับบุคคลอื่นต่อได กิจกรรมการให้ความรู้ด้านการดูแลอวัยวะในร่างกาย เสื้อผ้า รองเท้า ที่อยู่อาศัย การแยกขยะ -นักเรียนได้รับความรู้และสามารถปฏิบัติได้ สังเกตจากความสะอาดของร่างกาย เสื้อผ้าในการมา โรงเรียนในทุกวัน -นักเรียนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ทิ้งในที่ที่เตรียมไว้ให้ทิ้ง มีป้ายบอกประเภทขยะก่อนทิ้ง กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ -เด็กนักเรียนมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายและสามารถออกกำลังกายไๆด้ถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการแปรงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการแปรงฟัน คิดเป็นร้อยละ 80 2. นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (วัดจากการสังเกต สำรวจพฤติกรรม)
80.00 80.00

นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทันตกรรม สามารถนำความรู้เรื่องการแปรงฟันอย่างถูกวิธี และนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความเข้าใจในการดูแลความสะอาดอวัยวะส่วนต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 80 2. นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (วัดจาการสังเกต สำรวจพฤติกรรม)
80.00 80.00

นักเรียนเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาอวัยวะในร่างกายให้สะอาด และสามารถปฏบัติตน ดูแลความสะอาดของร่างกายได้

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัยและการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความเข้าใจในการดูแลรักษาความสะอาด เสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัยและการแยกขยะ คิดเป็นร้อยละ 80 2. นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (วัดจาการสังเกต สำรวจพฤติกรรม)
0.00 80.00

นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่เหมาะสม เสื้อผ้า รองเท้าสะอาด มีการคัดแยกขยะใส่ในถังขยะที่จัดเตรียมไว้ให้

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องสุขภาพอนามัยและการดูแลรักษาสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 80 2. นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (วัดจาการสังเกต สำรวจพฤติกรรม)
0.00 80.00

นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม รักษาความสะอาดของร่างกาย

5 ข้อที่ 5 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความเข้าใจในการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 80 2. นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (วัดจาการสังเกต สำรวจพฤติกรรม)
0.00 80.00

นักเรียนมีการทิ้งขยะถูกที่ มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง

6 ข้อที่ 6 เพื่อการสร้างพฤติกรรมการออกกำลังกายให้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีพฤติกรรมการออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 80 2. นักเรียนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (วัดจาการสังเกต สำรวจพฤติกรรม)
0.00 80.00

นักเรียนมีการร่วมออกกำลังกายในทุกเช้าตอนเข้าแถวเคารพธงชาติ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 127
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 34
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 93
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการแปรงฟันที่ถูกวิธี (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เล็บ ผม ผิวพรรณ มือ เท้า ฯลฯ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมและปฏิบัติจริงในการดูแลรักษาความสะอาดเสื้อผ้า ร้องเท้า ที่อยู่อาศัยและการแยกขยะ  (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถนำไปปฏิบัติในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชนได้ (5) ข้อที่ 5 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน (6) ข้อที่ 6 เพื่อการสร้างพฤติกรรมการออกกำลังกายให้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธีโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านฟัน (2) กิจกรรมให้ความรู้ด้านการดูแลอวัยวะในร่างกาย (3) กิจกรรมดูแลความสะอาด เสื้อผ้า รองเท้า ที่อยู่อาศัย การคัดแยกขยะ (4) กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...-

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh