ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสะบัน สำนักพงศ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ
ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5295-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน (2) ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน (3) 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน (4) 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ครัวเรือนส่วนใหญ่ปรับปรุงบ้านไม่ต่อเนื่อง และไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์Green(การคัดแยกขยะ ห้องน้ำ สิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงาน การปลูกผักปลอดสารพิษ
แนวทางการแก้ไข ได้แก่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากครัวเรือนในชุมชนโดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากครัวเรือนยต้นแบบในชุมชน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน
- ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน
- 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
- 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน
2.เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน
วันที่ 19 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
19-22 ตุลาคม 2561 มีกิจกรรมสร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน โดยผู้สมัครเข้าร่วม 40 ครัวเรือน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องGreen ศึกษาดูงาน ครัวเรือนต้นแบบของปี 2560 มีการมอบต้นมะม่วงหาว มะนาวโห่แก่ชุมชนยนำไปปลูก 50ต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 40 ครัวเรือน
40
0
2. ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
วันทืี่5-6พฤศจิกายน 2561 มีการติดตามประเมินคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในโครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจลดโลกร้อน เพื่อลดโรคติดต่อ และประเมินครเวเรือนปี 2560 ซ้ำต่ออายุปี2561 ผ่านเกณฑ์จำนวน 8 หลัง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบประจำปี 2561 จำนวน 5หลัง ประเมินซ้ำเพื่อต่ออายุปี 2560 ผ่านเกณฑ์ 8หลัง
40
0
3. 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 8-9พฤศจิกายน 2561 จัดกิจกรรมประกวดวาดภาพและเขียนเรียงความ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 52 คน ผลการประกวดแยกเป้็น ประกวดวาดภาพหัวข้อ "นักเรียนร่วมใจ ช่วยลดโลกร้อน" 4 คน
ประกวดเขียนเรียงความ ได้4รางวัล
50
0
4. 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ช่วงเช้า มีการอบรมให้ความรู้โรคติดต่อที่พบบ่อยในพื้นทีึ่ี่ ได้แก่ ไข้เลิือดออก ชิคุนกุนย่่า อุจจาระร่วง วัณโรค ช่วงบ่ายเจ้าหน้าที่และแกนนำในชุมชนร่วมกับประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,4,5 ตำบลป่าแก่บ่อหิน มีการรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน วัด สำนักสงฆ์ โรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีคณะกรรมการสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย สำรวจ 585 หลังคาเรือน พบลูกน้ำ 51 ค่า HI =8.71 CL=0
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน มีการประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน โดยมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องหลักการGreen และศึกษาดูงานครัวเรือนต้นแบบของปี2560จำนวน 3หลัง เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงครัวเรือนของตนเองในวันที่ 19และ22 ตุลาคม 2561ในหมู่ที่ 1 บ้านป่าแก่บ่อหิน
2.ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อนประจำปี 2561 และรณรงค์ปลุกต้นมะม่วงหาว มะนาวโห่ จำนวน 50 ต้น มีการประเมินครัวเรือนต้นแบบของปี2560ซ้ำเพื่อต่อยอดและให้คงสภาพเหมือนเดิมจำนวน 8 หลัง
3.รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน กิจกรรมช่วงเช้ามีวิทยากรจากโรงพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่แกนนำเกี่ยวกับโรคติดต่อที่พบบ่อยในชุมชน ช่วงบ่ายรณรงค์สุ่มลุกน้ำยุงลายใน4หมู่บ้านผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 42 ราย
- กิจกรรมในโรงเรียน ได้มีการจัีดประกวดวาดภาพในหัวข้อ "สิ่งแวดล้อมดี ไม่มีโรคติดต่อ" จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 42 คน
- โรคติดต่อ ได้แก่โรคไข้เลือดออก 0 ราย ชิคุนกุนย่า 1 ราย อุจจาระร่วง 46ราย โรคฉี่หนู 0ราย วัณโรค 1 ราย
โรคติดต่อภายในชุมชนลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าร่วมโครงการมีความรู้และดำเนินกิจกรรมร้อยละ 80
40.00
40.00
มีครัวเรือนสมัครเข้าร่วมโครงการครัวเรือนต้นแบบจำนวน 40 ครัวเรือน
2
เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ตัวชี้วัด : โรคติดต่อในชุมชนลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 10
0.00
10.00
โรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้เลือดอก โรคชิคุนกุนย่า 1ราย โรคอุจจาระร่วงจำนวน 46ราย โรคฉี่หนู 0 ราย วัณโรค 1ราย
โรคติดต่อลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 10
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
190
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน (2) ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน (3) 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน (4) 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ครัวเรือนส่วนใหญ่ปรับปรุงบ้านไม่ต่อเนื่อง และไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์Green(การคัดแยกขยะ ห้องน้ำ สิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงาน การปลูกผักปลอดสารพิษ
แนวทางการแก้ไข ได้แก่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากครัวเรือนในชุมชนโดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากครัวเรือนยต้นแบบในชุมชน
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5295-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสะบัน สำนักพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสะบัน สำนักพงศ์
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5295-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน (2) ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน (3) 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน (4) 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ครัวเรือนส่วนใหญ่ปรับปรุงบ้านไม่ต่อเนื่อง และไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์Green(การคัดแยกขยะ ห้องน้ำ สิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงาน การปลูกผักปลอดสารพิษ
แนวทางการแก้ไข ได้แก่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากครัวเรือนในชุมชนโดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากครัวเรือนยต้นแบบในชุมชน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน
- ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน
- 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
- 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน 2.เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ19-22 ตุลาคม 2561 มีกิจกรรมสร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน โดยผู้สมัครเข้าร่วม 40 ครัวเรือน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องGreen ศึกษาดูงาน ครัวเรือนต้นแบบของปี 2560 มีการมอบต้นมะม่วงหาว มะนาวโห่แก่ชุมชนยนำไปปลูก 50ต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 40 ครัวเรือน
|
40 | 0 |
2. ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน |
||
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำวันทืี่5-6พฤศจิกายน 2561 มีการติดตามประเมินคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในโครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจลดโลกร้อน เพื่อลดโรคติดต่อ และประเมินครเวเรือนปี 2560 ซ้ำต่ออายุปี2561 ผ่านเกณฑ์จำนวน 8 หลัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบประจำปี 2561 จำนวน 5หลัง ประเมินซ้ำเพื่อต่ออายุปี 2560 ผ่านเกณฑ์ 8หลัง
|
40 | 0 |
3. 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน |
||
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำวันที่ 8-9พฤศจิกายน 2561 จัดกิจกรรมประกวดวาดภาพและเขียนเรียงความ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 52 คน ผลการประกวดแยกเป้็น ประกวดวาดภาพหัวข้อ "นักเรียนร่วมใจ ช่วยลดโลกร้อน" 4 คน ประกวดเขียนเรียงความ ได้4รางวัล
|
50 | 0 |
4. 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน |
||
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำช่วงเช้า มีการอบรมให้ความรู้โรคติดต่อที่พบบ่อยในพื้นทีึ่ี่ ได้แก่ ไข้เลิือดออก ชิคุนกุนย่่า อุจจาระร่วง วัณโรค ช่วงบ่ายเจ้าหน้าที่และแกนนำในชุมชนร่วมกับประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,4,5 ตำบลป่าแก่บ่อหิน มีการรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน วัด สำนักสงฆ์ โรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีคณะกรรมการสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย สำรวจ 585 หลังคาเรือน พบลูกน้ำ 51 ค่า HI =8.71 CL=0
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน มีการประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน โดยมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องหลักการGreen และศึกษาดูงานครัวเรือนต้นแบบของปี2560จำนวน 3หลัง เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงครัวเรือนของตนเองในวันที่ 19และ22 ตุลาคม 2561ในหมู่ที่ 1 บ้านป่าแก่บ่อหิน 2.ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อนประจำปี 2561 และรณรงค์ปลุกต้นมะม่วงหาว มะนาวโห่ จำนวน 50 ต้น มีการประเมินครัวเรือนต้นแบบของปี2560ซ้ำเพื่อต่อยอดและให้คงสภาพเหมือนเดิมจำนวน 8 หลัง 3.รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน กิจกรรมช่วงเช้ามีวิทยากรจากโรงพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่แกนนำเกี่ยวกับโรคติดต่อที่พบบ่อยในชุมชน ช่วงบ่ายรณรงค์สุ่มลุกน้ำยุงลายใน4หมู่บ้านผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 42 ราย
- กิจกรรมในโรงเรียน ได้มีการจัีดประกวดวาดภาพในหัวข้อ "สิ่งแวดล้อมดี ไม่มีโรคติดต่อ" จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 42 คน
- โรคติดต่อ ได้แก่โรคไข้เลือดออก 0 ราย ชิคุนกุนย่า 1 ราย อุจจาระร่วง 46ราย โรคฉี่หนู 0ราย วัณโรค 1 ราย
โรคติดต่อภายในชุมชนลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าร่วมโครงการมีความรู้และดำเนินกิจกรรมร้อยละ 80 |
40.00 | 40.00 | มีครัวเรือนสมัครเข้าร่วมโครงการครัวเรือนต้นแบบจำนวน 40 ครัวเรือน |
|
2 | เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค ตัวชี้วัด : โรคติดต่อในชุมชนลดลงจากปี 2560 ร้อยละ 10 |
0.00 | 10.00 | โรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้เลือดอก โรคชิคุนกุนย่า 1ราย โรคอุจจาระร่วงจำนวน 46ราย โรคฉี่หนู 0 ราย วัณโรค 1ราย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 190 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สร้างเครือข่ายลดโลกร้อนในชุมชน (2) ติดตามประเมินบ้านที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบลดโลกร้อน (3) 3. รณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน (4) 4. กิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ครัวเรือนส่วนใหญ่ปรับปรุงบ้านไม่ต่อเนื่อง และไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์Green(การคัดแยกขยะ ห้องน้ำ สิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงาน การปลูกผักปลอดสารพิษ
แนวทางการแก้ไข ได้แก่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากครัวเรือนในชุมชนโดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากครัวเรือนยต้นแบบในชุมชน
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ชุมชนร่วมใจใส่ใจลดโลกร้อนเพื่อลดโรคติดต่อ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5295-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสะบัน สำนักพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......