กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด


“ โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย ”

ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง

ชื่อโครงการ โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1506-02-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2561 ถึง 29 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1506-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2561 - 29 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัจจุบันและปัญหาผดุงครรภ์ไทยเน้นไปที่การดูแลมารดาในระยะหลังคลอดโดยเฉพาะในช่วง 2 เดือนแรก เนื่องจากกระบวนการตั้งครรภ์และกระบวนการคลอดทำให้มารดาหลังคลอดบุตรใหม่ๆ มีปัญหาสุขภาพและจำเป็นต้องได้รับกระบวนการฟื้นฟูส่วนใหญ่ พบว่ามารดาหลังคลอดมักเผชิญกับปัญหาต่างๆดังต่อไปนี้อาการอ่อนเพลีย หน้ามืดตาลาย เนื่องจากมีการเสียเลือด เสียเหงื่อ และเสียแรงมากในขณะคลอด และมีของเสียตกค้างหลังการคลอด สามารถป้องกันและแก้ไขได้โดย การรักษาความอบอุ่นของร่างกาย พักผ่อนให้พอเพียง ไม่ทำงานหนัก ไม่ใช้สายตามาก รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย ดูดซึมเร็วมีกากใย ควรดื่มน้ำมากๆ ได้รับการนวดฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดเพื่อลดความเมื่อยล้า อบไอน้ำสมุนไพร ทับหม้อเกลือ รับประทานยาหอมบำรุงหัวใจ และยาฟอกเลือดอาการปวดเมื่อย ปวดระบมตามบั้นเอวสะโพก ต้นขา บ่า สะบัก และข้อนิ้วมือ เนื่องจากการอุ้มท้อง และเบ่งคลอดแก้ไขโดยการยืดดัดตนเอง ได้รับการนวดฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอด ,การประคบสมุนไพร,ทับหม้อเกลือ มดลูก กระบังลมหย่อน หน้าท้องยื่น(ชาวบ้านบางแห่งเรียก มดลูกไหล) และเจ็บมดลูก น้ำคาวปลาไม่เดิน ป้องกันแก้ไขโดยใช้ผ้ารัดหน้าท้อง ยืดดัดตัวเอง นอนคว่ำเอามดลูกกดทับบนก้อนผ้า ไม่ปล่อยให้ท้องผูกได้รับการนวดฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอด , การประคบสมุนไพร , ทับหม้อเกลือบริเวณบั้นเอว สะโพก ต้นขา หน้าท้อง เต้านม และอบสมุนไพรเจ็บแผลฝีเย็บ ช่องคลอด และปวดขัดเวลาปัสสาวะ ป้องกันโดยการล้างให้สะอาดและเช็ดให้แห้งทุกครั้งหลังการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ รวมทั้งระวังไม่ให้เกิดอาการท้องผูก
สามารถลดอาการเจ็บแผลได้โดยการแช่น้ำด่างทับทิม และการนั่งถ่านรมไอสมุนไพรอุ่นๆอาการคัดเต้านม น้ำนมน้อยหัวนมบอด ป้องกันแก้ไขโดยการนวด ประคบสมุนไพรรับประทานอาหารประเภทแกงเลียงหัวปลีและยาประสะน้ำนม ยาบำรุงน้ำนม ผิวหนังเป็นคราบบริเวณรักแร้ซอกคอ สะโพกก้นขาหนีบท้องลาย สะโพกลาย เนื่องจากผิวหนังมีการยืดหดตัวสูง หน้าเป็นฝ้าผมร่วงเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนและตัวมีกลิ่นเหงื่อเนื่องจากมีการขับเหงื่อมากแก้ไขโดยการอบสมุนไพร
ดังนั้นชมรมอสม. รพ.สต.บ้านต้นปรง จึงสนใจที่จัดทำโครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยเพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ลดอาการคัดตึงเต้านม กระตุ้นการหลั่งน้ำนม ลดอาการปวดเมื่อยในมารดาหลังคลอด และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สามารถทำงานได้เป็นปกติทำให้หน้าท้องยุบเร็วน้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้นโดยครอบครัวเป็นผู้ดูแลหลัก อันจะส่งผลให้หญิงหลังคลอดเกิดความอบอุ่น ช่วยส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตมารดาหลังคลอด โดยให้ความตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดาหลังคลอดและหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย
  2. มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทย ทำให้มารดาคืนสู่สภาพปกติและแข็งแรงได้โดยเร็ว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพทีมต้นปรงสุขภาวะดีด้วยวิถีแพทย์แผนไทย
  2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทีมต้นปรงสุขภาวะดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย มารดาหลังคลอด และหญิงมีครรภ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มารดาหลังคลอดและหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทย ทำให้มารดาคืนสู่สภาพปกติและแข็งแรงได้โดยเร็ว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดและหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย (2) มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทย ทำให้มารดาคืนสู่สภาพปกติและแข็งแรงได้โดยเร็ว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพทีมต้นปรงสุขภาวะดีด้วยวิถีแพทย์แผนไทย (2) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ทีมต้นปรงสุขภาวะดี  ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย  มารดาหลังคลอด  และหญิงมีครรภ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1506-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด