กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย ”
ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1506-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มิถุนายน 2561 ถึง 29 มิถุนายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1506-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มิถุนายน 2561 - 29 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาชุมเห็ด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมายาวนาน ปัจจุบันการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยทั้งการนวดไทยการใช้สมุนไพรเพื่อใช้เป็นยาอาหารและผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพอื่น ๆกำลังได้รับความนิยมและได้รับการยอมรับทั้งจากภาครัฐ ภาคธุรกิจ และประชาชนทั่วไปในปัจจุบันภาครัฐมีนโยบายในการผสมผสานการดูแลสุขภาพร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบันในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับงานการแพทย์แผนไทยได้รับการผสมผสาน ให้เข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขของรัฐซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้นำมาเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของกระทรวงว่าด้วย “การพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก สมุนไพร และภูมิปัญญาไทย” และในปี 2558กระทรวงสาธารณสุขมีมติให้การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานเป็นสาขาที่ 11ในการพัฒนาระบบริการ (Service plan) เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างสูงสุด ในปัจจุบันประชาชนเริ่มมีการนำเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นและศาสตร์ความรู้เดิมมาใช้อย่างแพร่หลายทั้งในการป้องกันรักษา และฟื้นฟูซึ่งการแพทย์แผนไทยในอดีตมีวิธีการป้องกันรักษา และฟื้นฟูโดยเน้นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมคือการดูแลสุขภาพทั้งกายและจิตใจโดยเริ่มตั้งแต่การดำเนินชีวิต สภาพแวดล้อม อาหาร น้ำ อากาศ อุปนิสัย อาชีพ ฯลฯ มีการเสริมภูมิต้านทานโรคให้แก่ร่างกายดังนั้นเพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพทางการแพทย์แผนไทย งานแพทย์แผนไทยชมรมอสม. รพ.สต.บ้านต้นปรง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย ได้นำเอาภูมิปัญญาดั้งเดิมดยได้นำเอาสมุนไพรที่มีท้องถิ่นซึ่งสามารถหาได้ง่ายมาหมักรวมกันทำเป็นแผ่นพอกเข่าสมุนไพรซึ่งมีสรรพคุณช่วยลดอาการปวดบวม อาการอักเสบของกล้ามเนื้อเพื่อเป็นแนวทางในการรักษาทางการแพทย์แผนไทยด้วยวิธีอื่นและง่ายต่อการนำไปใช้กับผู้ป่วยนอกจากนี้กรรมวิธีการทำง่ายประชาชนสามารถนำไปทำใช้ได้เองเพื่อให้ผู้ป่วยมีการดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยโดยพึ่งตนเองได้อีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่มีอาการปวดข้อเข่ามีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมทีมต้นปรงสุขภาวะดีด้วยวิถีแพทย์แผนไทย
  2. อบรมผู้ที่มีอาการปวดข้อเข่า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ที่มีอาการปวดข้อเข่ามีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่มีอาการปวดข้อเข่ามีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ70ของผู้ที่มีอาการปวดเข่ามีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า ได้ 2. ร้อยละ70ของผู้ที่มีอาการปวดเข่ามีอาการปวดลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่มีอาการปวดข้อเข่ามีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมทีมต้นปรงสุขภาวะดีด้วยวิถีแพทย์แผนไทย (2) อบรมผู้ที่มีอาการปวดข้อเข่า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1506-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นปรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด