กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยเด็กพัฒนาการดีสดใส ประจำปี 2561 ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสะบัน สำนักพงศ์

ชื่อโครงการ วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยเด็กพัฒนาการดีสดใส ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5295-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยเด็กพัฒนาการดีสดใส ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยเด็กพัฒนาการดีสดใส ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในเรื่องเพศศึกษาและไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย 2.มารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นตั้งครรภ์ปลอดภัยไม่ท้องซ้ำ (2) 3.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการในรายพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเยาวชนวัยรุ่น 1.1 อายุ 12-19 ปี จำนวน 80 คน 1.2 อบรมมารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นจำนวน 20 คน (2) คัดกรองพัฒนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การจัดโครงการนี้ สามารถทำให้ผํู้ปกครองเกิดความตระหนักในการดูแลบุตรหลานโดยการสังเกตพัฒนาการและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย หากมีปัญหาสามารถมารับคำปรึกษาและบริการได้ที่สถานบริการสาธารณสุข นอกจากนี้ ผู้ปกครองสามารถประดิษฐ์ของเล่นเสริมพัฒนาการได้เองจากวัสดุเหลือใช้ โดยไม่ต้องเปลืองค่าใช้จ่ายในการซื้อของเล่นที่มีราคาแพง ส่งผลให้เกิดความรักความผูกพันภายในครอบครัว

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็ก รัฐเล็งเห็นว่าทางออกที่ดีที่สุดของปัญหานี้ก็คือทุกหน่วยงานต้องร่วมมือกันและมาตรการที่ดีที่สุด คือมาตรการป้องกัน เพราะการทำแท้งเป็น การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ที่ดีที่สุดคือการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่ม (เดือน ต.ค. 256๐ - มี.ค. 2561) พบว่ามีหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุต่ำกว่า 19 ปีจำนวน ๕ ราย จากจำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 1๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๔๑ ซึ่ง KPI ระดับเขตสุขภาพต้องไม่เกินร้อยละ 10 สาเหตุเกิดจากหญิงตั้งครรภ์ขาดความรู้และผลกระทบที่เกิดกับมารดาและทารกจาการการตั้งครรภ์อายุน้อย และจากการคัดกรองพัฒนาการเด็กในช่วงอายุ 0-5 ปีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่ม จำนวนเด็กทั้งหมด1๐๐ คน เด็กที่มีพัฒนาการปกติ จำนวน ๙๒ คน คิดเป็นร้อยละ 9๒.๐๐ พบเด็กพัฒนาการไม่สมวัยจำนวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ 0.๘
ในการนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่ม ได้ให้ความเล็งเห็นและให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในเรื่องเพศศึกษาและไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย 2.มารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นตั้งครรภ์ปลอดภัยไม่ท้องซ้ำ
  2. 3.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการในรายพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมเยาวชนวัยรุ่น 1.1 อายุ 12-19 ปี จำนวน 80 คน 1.2 อบรมมารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นจำนวน 20 คน
  2. คัดกรองพัฒนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเยาวชนในตำบลป่าแก่บ่อหิน อายุระหว่าง 12-19 ปี จำนวน ๘0 คนได้รับการอบรมความรู้เรื่องเพศศึกษา 2. มารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นจำนวน ๒๐ คนได้รับความรู้ผลกระทบจากการตั้งครรภ์อายุน้อย3. เด็ก0-5ปีได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ในรายพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย โดยผู้ปกครองร้อยละ 95 4. ผู้ปกครองเด็ก 0-5ปี ได้ประดิษฐ์ของเล่นเสริมพัฒนาการให้เด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวนทั้งสิ้น 200 คน
วัยรุ่นอายุ 12-19ปี และผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัย คิดเป้นร้อยละ 100 -เด็กอายุ 0-5ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการคิดเป็นร้อยละ 95 และมีการส่งต่อในรายที่พบการตรวจพัฒนาการล่าช้า -ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี ได้รับความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย คิดเป็นร้อยละ 100 - ผู้ปกครองได้ร่วมประดิษฐ์ของเล่นเสริมพัฒนาการเด็กชิงรางวัล จำนวน 10 คน ซึ่งจากการประกวดของเล่นเสริมพัฒนาการ มีผู้ได้รับรางวัล จำนวน 5 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในเรื่องเพศศึกษาและไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย 2.มารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นตั้งครรภ์ปลอดภัยไม่ท้องซ้ำ
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ 10-19ปี ไม่เกินร้อยละ 10
0.00 100.00

วัยรุ่นอายุ 12-19ปี และผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัย คิดเป็นร้อยละ 100

2 3.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการในรายพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย
ตัวชี้วัด : 2.เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการในรายพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัยโดยผู้ปกครองร้อยละ 95
0.00 95.00

เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการคิดเป็นร้อยละ 95 และมีการส่งต่อในรายที่พบการตรวจพัฒนาการล่าช้า -ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี ได้รับความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย คิดเป็นร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในเรื่องเพศศึกษาและไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย 2.มารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นตั้งครรภ์ปลอดภัยไม่ท้องซ้ำ (2) 3.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการในรายพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเยาวชนวัยรุ่น 1.1 อายุ 12-19 ปี จำนวน 80 คน 1.2 อบรมมารดาที่ตั้งครรภ์วัยรุ่นจำนวน 20 คน (2) คัดกรองพัฒนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การจัดโครงการนี้ สามารถทำให้ผํู้ปกครองเกิดความตระหนักในการดูแลบุตรหลานโดยการสังเกตพัฒนาการและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย หากมีปัญหาสามารถมารับคำปรึกษาและบริการได้ที่สถานบริการสาธารณสุข นอกจากนี้ ผู้ปกครองสามารถประดิษฐ์ของเล่นเสริมพัฒนาการได้เองจากวัสดุเหลือใช้ โดยไม่ต้องเปลืองค่าใช้จ่ายในการซื้อของเล่นที่มีราคาแพง ส่งผลให้เกิดความรักความผูกพันภายในครอบครัว

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยเด็กพัฒนาการดีสดใส ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5295-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะบัน สำนักพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด