กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกายภาพผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
รหัสโครงการ 61-L4127-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ
วันที่อนุมัติ 3 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 13,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสันต์เดะแอ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนูรอีมานีหะมะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานคนพิการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว หมายถึง ผูที่มีความผิดปกติ บกพรองหรือสูญเสียอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งของรางกายทําใหไม่สามารถเคลื่อนไหวไดดีเทาคนปกติเชน เด็กที่มีแขนขาเปนอัมพาตเปนโรคเกี่ยวกับกลามเนื้อ-กระดูก เชน เทาปุก เขาติด เอวคด เด็กสมอง พิการ หรือ ซี.พี.โปลิโอซึ่งทําใหกลามเนื้อลีบอวัยวะผิดรูป อวัยวะสวนใดสวนหนึ่งขาดหายไป สาเหตุสําคัญที่ทําใหรางกายเคลื่อนไหวผิดปกติ คือการสูญเสียการทํางานของระบบ ประสาทที่ควบคุมการทํางานของระบบกลามเนื้อ และสาเหตุสําคัญของการจํากัดการเคลื่อนไหว 2 คือเกิดการยึดติดของขอตอและเนื้อเยื่อรอบๆขอตอนั้น ตนเหตุที่ทําใหรางกายเกิดการสูญเสียการ ทํางานของระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อปญหาแทรกซอนที่พบบอยในผูที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เนื่องจากผูพิการดานการเคลื่อนไหวมักสูญเสียอวัยวะสวนที่ควบคุมการเคลื่อนไหว ทําให ไมสามารถควบคุมการเคลื่อนไหวอยางปกติของรางกาย ทําใหเกิดผลแทรกซอนตางๆมากมายได อีกทั้งผูพิการที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวนั้น ผูพิการมักไมสามารถ ชวยตัวเองในการเคลื่อนไหว หรือเปลี่ยนอิริยาบทไดทําใหตองอยูในทาใดทาหนึ่งเปนเวลานานๆ จึงทําใหเกิดแผลกดทับ หรือขอยึดติดมากขึ้นอีกซึ่งสาเหตุดังกล่าวเป็นปจจัยเสริมทําใหเกิดผล แทรกซอนตางๆเพิ่มขึ้นอีกดวย ดังนั้นหากผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้เพียงพอที่สามารถทำกายภาพบำบัดผู้พิการเบื้องต้น จะช่วยบรรเทาผลแทรกซ้อนที่จะตามมาจากความพิการและยังส่งผลให้ผู้พิการสามารถที่จะพัฒนากล้ามเนื้อที่อ่อนแรงและสามารถช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ดังนั้นการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยกระตุ้นและเสริมความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการที่สามารถไปปรับใช้กับผู้พิการที่บ้านได้อย่างเหมาะสม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้พิการทางการเคลื่อนไหวได้

ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม.

1.00
2 เพื่อเพิ่มทักษะของผู้ดูแลในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยที่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ

สาธิตย้อนกลับการทำกายภาพเบื้องต้น

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดทำโครงการ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. กำหนดการจัดโครงการ
  4. ประเมินผลโครงการสรุปการประเมินผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้พิการหรือไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
  2. ผู้ดูแลมีทักษะในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยที่มีแผลกดทับหรือภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ